Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
-
สาเหตุ
- ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามิน D
- ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียม จากโรคลำไส้ ดูดซึมแคลเซ๊ยมกลับได้น้อยลง ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียมและวิตามิน D
- โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียม และ ฟอสเฟต
- ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวสำคัญที่ทำให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
-
-
-
Bone and Jiont infection
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ (พบเชือ้ที่เป็นเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่า ต้องมีอาการ 5 ใน 6 ดังนี้)
- อุณหภูมิ มากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
-
-
-
- มีอาการทาง systemic โดยที่ไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วม
- ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
-
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือ จากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายของกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด เด็กเล็ก จะแสเงออกโดยไม่ใช้แขนขา ทารก จะนอนนิ่งไม่ขยับ แขนขา ข้างที่เป็น มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC พบ Leucocytosis ,ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
-
การรักษา
- ให้ยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษาของแพทย์
- การผ่าตัด เอาหนอง เอาชิ้นเนื้อ เอากระดูกตาย ออก
อาการแทรกซ้อน
-
- กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ยับยั้งการเจรฺิญเติบโตของกระดูกตามยาว ทำให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกใหยาวขึ้น
-
-
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างเท้ามีลักษณะ เท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้า บิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
-
- แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot ) หรือ Ideopatic Talipes Equino Varus (ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
ระบาดวิทยา
เพศชาย : เพศหญิง = 2.5 : 1 มีความสัมพันธ์ในพันธุกรรม พบมีอุบัติการณ์ เพิ่มขึ้น ในญาติพี่น้อง ในฝาแฝด ถ้าอีกคนหนึ่งเป็นอีกคนมีโอกาสเป็นร้อยละ 2.5
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage) ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ (primary germ plasm defect )
ความสัมพันธ์ของกระดูกในเท้าผิดปกติ : พบ navicular bone อยู่ medial และ inferior ต่อกระดูก talus , calcaneus bone ,หมุนเลื่อนไปทาง medial ซ้อนอยู่ใต้ talus bone และพบกระดูก metatarsal bone บิดเข้า medial เช่นกัน
รูปร่างกระดูก : รูปร่างและขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะกระดูก talus ,calcaneus , navicular และ cuboid bone
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้า ตามลักษณะตามคำจำกัดความ " เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน" ควรแยกระหว่าง เท้าปุกที่สามารถหายได้เองจากผลของท่าของเท้าที่บิดขณะอยู่ในครรภ์
positionnal clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้าเด็ก สามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา
ได้ผลดี ในกรณีที่ไม่แข็งมาก ดัดใส่เฝือกเพื่อรักษารูปเท้า เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 สัปดาห์ เพื่อให้ได้ผลดีควรใส่เฝือกตั้งแต่แรกเกิด การดัดใส่เฝือก อาจช่วยให้การผ่าตัดรักษาง่ายขึ้น ใส่นาน 2-3 เดือน และนัดมา F/U เนื่องจากโอกาสกลับมาบิดซ้ำถึงร้อยละ 50
- การผ่าตัด ในรายที่กระดูกเท้าแข็ง ไม่สามารถดัดได้ ต้องทำการผ่าตัด แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ ทำในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ผ่าตัดคลายเนื้อเยื่อ Subtalar joint และยืดเอ็นที่ตึง ทำให้การเคลื่อนไหวของข้อเท้า ใกล้เคียงปกติ
-
2.3 การ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (triple fusion) ช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป ทำให้ Subtalar joint และ midtarsal joint เชื่อมแข็งืไม่โต รูปร่างเท้าใกลเคียงปกติ
ฝ่าเท้าแบน ( Flat feed)
ฝ่าเท้าของคนปกติ เมื่อยืนจะมีช่องใต้เท้าเราเรียกว่า arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ฝ่าเท้าไม่มี เราเรียก เท้าแบน หรือ flat feed
-
-
-
Cerebral Palsy สมองพิการ
เด็กที่เป็นโรคนี้ มักมีปัญหาในการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ ปัญหาการพูดคุยและการกิน และอาจมีปัญหาในการควบคุมการหายใจ เพื่อเปล่งเสียง เด็กพิการซีพี ส่วนใหญ่ สติปัญญาไม่ดี ไม่ปัญญาอ่อน ประมาณ 70-80% มีค่า IQ มากกว่า 70% บางรายมีการรับรู้ความรู้สึกที่ผิดปกติด้วย
-
-
การรักษา
- ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ โดยใช้วิธีทาง
กายภาพบำบัด (Physical Therapy) จะช่วยให้เด็ก CP เรียนรู้การเคลื่อนไหวและการปรับสมดุลย์ของร่างกายได้ดีขึ้น
-
-
-
- การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ โดยพ่อแม่ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญกับการพัฒนาการด้านอารมณ์ของเด็ก
- การรักษาด้านอื่นๆ เช่น การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่ น้ำลายยืด การใช้เครื่องช่วยฟัง ใช้ยาควบคุมการชัก รวมถึงปัญหาด้านจิตเวช
-
Omphalocele
เป็นการผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยมีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีเพียงชั้นบางๆ ที่ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง penitocal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังหน้าท้อง คล้ายถุงปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมานอกช่องท้อง
ลักษณะทางคลินิก
ใช้การอัลตราซาวนต์ตรวจทารกในครรภ์มารดา สามารถวินิจฉัยภาวะ omphalocele ได้ ภายหลังคลอด พบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม. ขึ้นไป จนมากกว่า 10 ซม. ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบาง มองเห็นอวัยวะภายในได้ อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วย ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้ามและตับ ทารกที่เป็น omphalocele พบในทารกเพศหญิงได้มากกว่า
การรักษา
ทำโดยการใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) ทาที่ผนังถุง การใช้สารละลายฆ่าเชื้อ หรือ cream ทาถุง มีผลทำให้ผนังแปรสภาพเป็น eschar ที่เหนียว ไม่แตกง่าย การทาใน 2-3 วันแรก อาจจะทาบ่อย ใช้ Tr. Mercurochrome 1% ทาทุก 2-3 ชั่วโมง ในระยะแรก และต่อมาเปลี่ยนเป็น ทาวันละ 2 ครั้ง การที่ถุงแปรสภาพเป็น eschar และไม่แตก จะมีเวลาทำให้ผิวหนังบริเวณขอบถุงเจริญมาคลุม ผลสุดท้ายจะคลุมได้สมบูรณ์ เปลี่ยนสภาพเป็น umbilical hernia ซึ่งอาจจะต้องซ่อมแซมเมื่อเด็กโตขึ้น
การรักษาด้วยวิธีนี้ เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่ หรือใหญ่มาก
- เป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย ( primary fascial closure)
- เป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน ( staged repair)
primary fascial closure มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก ซึ่งจะทำให้ การนำกลับคืนสู่ช่องท้องเป็นไปได้ไม่ยากนัก ทั้งนี้เนื่องจากว่า ถ้าอวัยวะภายในมีจำนวนมาก เมื่อนำกลับมาคืนช่องท้องจะทำให้ช่องท้องแน่น มีผลเสียต่อการไหลเวียนเลือดดำกลับเข้าสู่หัวใจ
-