Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ, F42643A6-86BF…
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ
Vacuum Extraction delivery
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ส่วนประกอบ
แผ่นโลหะกลมแบนและโซ่ (metal plate metal plate metal plate metal plate และ chainchainchain )
ด้ามสำหรับดึง (traction bar หรือ haddle )
ท่อสายยาง (suction tube)
ขวดสุญญากาศ (vacuum tube)
เครื่องดูดสุญญากาศ (vacuum pump)
ข้อบ่งชี้
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผู้คลอดมีโรคประจำตัว
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP )
ข้อห้าม
ภาวะ CPD
ส่วนนำทารกอยู่สูง
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง ท่าก้น หรือท่าหน้า
ทารกมีภาวะ macrosomia
ทารกมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การพยาบาล
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและคลายความกังวล
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ อุปกรณ์สำหรับการให้ยาระงับคงวามรู้สึกเฉพาะที่และอุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกตามแผนการรักษา
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
เมื่อแพทย์วางถ้วยสุญญากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมและต่อสายยางเข้าเครื่องดูดเรียบร้อย จะเริ่มลดความดันจนถึง 0.8 กก./ตร.ซม
ประเมิน V/S,การหดรดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ และ การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อระวังการเกิดภาวะ PPH
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูอย่างน้อย 2ชั่วโมงหลังฃคลอด
Forceps Extraction delivery
การใช้คีมจับที่ศีรษะทารกให้กระชับและเหมาะสมเป็นการใช้แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ส่วนประกอบของคีม (forceps )
Blade คือ ส่วนของคีมที่ใช้จับศีรษะทารก ลักษณะเป็นแผ่นโค้งเว้าปลายกว้างมน
Shank คือ ก้านคีมที่ต่อกับ blade blade กับ lock lock ทาให้คีมมีความยาวขึ้น
Lock คือ ต่ำแหน่งยึด blade blade ทั้ง 2 ข้างไว้ด้วยกัน
Handles คือ ด้ามคีม ใช้จับเพื่อดึงหรือหมุน มีลักษณะเรียบหรือมีร่องนิ้ว (finger grip ) เพื่อให้จับได้ถนัด
Transverse process คือ ส่วนของคีมที่ยื่นออกมาระหว่าง handle กับ lock ทางด้านข้างทั้ง 2 ข้าง ใช้สำหรับเกี่ยวยึดขณะดึง
ข้อบ่งชี้
ด้านผู้คลอด
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า ได้รับยาบรรเทาอาการปวด หรือ ได้รับการทำ Epidural block
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH / Chronic hypertension
Prolong 2nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 1 ชม.
กรณีทำ Epidural block ครรภ์แรกนาน > 3 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 2 ชม.)
ด้านทารก
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น occiput transverse ซึ่งต้องหมุนศีรษะทารกเป็นท่า occiput anterior เพื่อสะดวกในการคลอด
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น (after coming head )
ชนิดของคีม (ที่ใช้บ่อยในปัจจุบัน)
Simpson forceps
Tucker-Mclean forceps
forcepsPiper
Kielland forceps
การพยาบาล
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด เหตุผล และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น เพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกตามแผนการรักษา
ฟัง FHS FHS ทุก 5 นาที / On EFM
ประเมิน V/S V/S เป็นระยะ
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
Cesarean section (การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง)
การผ่าตัดเพื่อคลอดทารกออกทางรอยผ่าที่หน้าท้อง (laparotomy ) และรอยผ่าที่ผนังมดลูก ( hystrotomy)
ข้อบ่งชี้
การคลอดติดขัด
การคลอดไม่ก้าวหน้า
รกเกาะต่ำ
ทารกมีภาวะ fetal destress
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ท่าศีรษะทั้งคู่
มีประวัติคลอดยาก
ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธ์ ระยะใกล้คลอด
ข้อห้าม
ทารกตายในครรภ์ เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
ผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง (skin incision)
ผ่าตัดที่ผนังมดลูก (uterine incision)
การพยาบาล
NPO หลังเที่ยงคืน / ก่อนผ่าตัดอย่างน้อย 6 – 8ชม.
ดูเเลความสะอาดร่างกาย
เจาะ G/M เตรียมเลือดอย่างน้อย 2 ยูนิต
บันทึก V/S และ FHS
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา สาเหตุของการผ่าตัดคลอด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการผ่าตัด เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนและคลายความกังวล
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5 – 15นาที
ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1 ชั่วโมงที่สอง หลังจากนั้นประเมินทุก 1ชม. จนอาการคงที่
ดูแลการได้รับสารน้ำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
Version (Internal version , External version)
External version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก (externalcephalic version : ECV version )
ข้อบ่งชี้
อายุครรภ์มากกว่า 37สัปดาห์
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ข้อห้าม
ครรภ์แฝด
สตรีมีครรภ์ที่อ้วนมาก
มีความผิดปกติของมดลูก
Abmormal FHS
Macrosomia
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเเทรกซ้อนทางอายุรกรรมเเละสูติกรรม
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา ภาวะแทรกซ้อน ขั้นตอนการหมุนเปลี่ยนท่าทารก
ให้ NPO อย่างน้อย 8ชม. ก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์ สถานที่ ให้สตรีถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย
ดูแลการได้รับการ ultrasound เพื่อยืนยันท่าและส่วนนำทารก + NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวดขณะทาการหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะๆ FHS > 120 ครั้ง/นาที หรือ สตรีมีอาการเจ็บปวดมากให้หยุดการหมุนเปลี่ยนท่าทันที
อยู่เป็นเพื่อสตรี เพื่อลดความกลัวและความกังวล
ประเมิน FHS ต่อไปอีกอย่างน้อย 30นาที
ดูแลให้ได้รับการตรวจ U/S เพื่อยืนยันว่าเป็นท่าศีรษะ
ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin (anti - D immune globulin)
แจ้งผลให้สตรีตั้งครรภ์ทราบและแนะนาการปฏิบัติตัว
Internal version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกโดยสอดมือผ่านปากมดลูกเข้าไปหมุนภายในโพรงมดลูก ในรายที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อบ่งชี้
การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ) มีปัญหาต้องคลอด่วน เช่น fetal distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อห้าม
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
ตกเลือดก่อนคลอด หรือ มีภาวะรกเกาะต่ำ
มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
การพยาบาล
ก่อนทำ >> เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ ไม่ NPO ผู้คลอด
ขณะทำ >> อยู่เป็นเพื่อน ให้กาลังใจ + ประเมิน FHS FHS และอาการปวดเป็นระยะ
ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะๆ
ดูแลช่วยเหลือการชวยคลอดท่าก้นต่อ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ
Placenta removal (การล้วงรก)
เป็นหัตถการสำคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
สาเหตุ
ภาวะ cervical clamp
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะรกลอกตัวช้า ลอกตัวไม่สมบูรณ์ หรือไม่ลอกตัว
รกฝังตัวลึกผิดปกติ (placenta adherens )
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที และเลือดออกไม่เกิน 400มิลลิลิตร
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คานึงถึงระยะเวลาที่รกค้าง
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด โดยไม่สามารถเข้าไป Clamp จุดที่ขาดได้
การพยาบาล
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
ดูแลการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปโดยวิสัญญี
จัดท่า Lithotomy
เตรียมอุปกรณ์ล้วงรกให้พร้อม
ดูแลการได้รับ IV fluid ตามแผนการรักษา
ประเมิน V/S ทุก 5นาที
ประเมิน contraction ปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอดละฝีเย็บ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมิน V/S , contraction bladder, การฉีกขาดของช่องคลอดและปริมาณเลือด
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
ดูแลได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่ออย่างน้อย 2ชม.หลังคลอด
Breech assisting (การท่าคลอดท่าก้น
ต่างจากการคลอดท่าศีรษะ เนื่องจากต้องใช้ความเชียวชาญและความระมัดระวังสูง
Frank breech presentation คือ ข้อสะโพกงอ ข้อเข้าทั้ง 2 ข้างเหยียดตรง ขาแนบไปกับลาตัวและอก
Complete breech presentation คือ ข้อสะโพกและเข่าทั้ง 2 ข้างงอ เหมือนท่านั่งขัดสมาธิ
Incomplete breech presentation คือ ข้อสะโพกหรือเข่า ข้างใดข้างหนึ่งหรือ 2 ข้าง งอไม่เต็มที่ทาให้ขาของทารกอยู่ต่ากว่าสะโพก
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้ผู้คลอดทราบเกี่ยวกับความจาเป็นและขั้นตอน
จัดท่าผู้คลอด Lithotomy Lithotomy Lithotomy
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกและฝีเย็บด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ + สวนปัสสาวะทิ้ง
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยคลอดให้พร้อม
อุปกรณ์ CPR ทารก + เครื่องช่วยหายใจ
ให้ IV fluid ตามแผนการรักษา
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที / On EFM
แนะนาผู้คลอดผ่อนคลายกล้ามเนื้อไม่เกร็ง
ประเมิน Contraction และกระตุ้นเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
กระตุ้นเบ่งจนก้นคลอด + เตรียมผ้าสะอาดปราศจากเชื้อสำหรับจับตัวทารก
ประเมิน V/S เป็นระยะ
หลังทำ
ประเมิน V/S,การหดรัดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ, การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดหรือไม่
แนะนำการคลึงมดลูกแก่มารดา
ไม่กลั้นปัสสาวะ
ให้มารดาสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอด อาการแสดงของการตกเลือด อาการปวดแผลฝีเย็บ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
Induction of labor (การชักนำการคลอด)
การทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดโดยเทคนิคต่างๆ ในขณะที่ยังไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข้อบ่งชี้
Postterm pregnancy
Premature rupture of membrane
Preeclampsia,eclampsia
Gestational hypertension
Chorioamnionitis
Abruption placenta
ข้อห้าม
Vasa previa
Placenta previa
Transverse fetal lie
Umbilical cord prolapse
Previous classical cesarean delivery
Bishop score
คะแนนเต็ม 13คะแนน หากได้ 9คะแนนขึ้นไปโอกาสในการชักนาการคลอดจะสาเร็จมากขึ้น
คะแนนน้อยกว่า 4 คะแนน ถือว่าปากมดลูกไม่มีความพร้อมในการชักนาการคลอด
วิธีการชักนำการคลอด
การใช้ prostaglandin
การใช้ Oxytocin
Amnitomy
Membrane stripping/sweeping
Breast stimulation
การพยาบาล
เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา
อธิบายวัตถุประสงค์การให้ยา
ให้ยาแก่ผู้คลอด โดยพิจารณาจากการหดรัดตัวของผู้คลอด
ประเมิน Contraction หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไปทุก 30 นาที และทุกครั้งก่อน/หลังการปรับหยด 2 – 3นาที
ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที โดยเพิ่มครั้งละ 1 – 2 มิลลิยูนิต/นาที (Duration = 40 – 60 นาที, Interval = 2 – 3 นาที )
ฟัง FHS ทุก 30 นาที
ดุเเลใกล้ชิดหากได้รับยาเกิน 24 ชม. ให้สังเกต Bandl Bandl ’sring ความดันโลหิตต่า ภาวะสารน้าเป็นพิษ คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย
ระยะหลังคลอด ดูแลการได้รับยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน PPH