Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, image, ทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
ระดับ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล
รู้สึกสับสน (confusion)
ผิดปกติในการตัดสินใจ
รู้สึกตัวดี (full consciousness)
ตื่นและรู้สึกตัวดี
รู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)
พูดช้า สับสน
stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
หลับลึก ต้องกระตุ้นซ้ำหลายๆครั้ง
หมดสติ (coma)
ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
ท่าทาง
Decorticate posturing
มีการทำลายของเนื้อสมอง cerebral cortex
Decerebrate posturing
เด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ
ไม่ได้ติดเชื้อทางระบบประสาท ติดเชื้อระบบอื่นๆ
อาการ
-T > 39 องศาเซลเซียส ชักภายใน 24 ชม. แรกเริ่มที่มีไข้ -มักเกิดอายุ 3 เดือน ถึง 5 xปี
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : ไข้ การติดเชื้อ 2.ประเมินสภาพร่างกาย : ตรวจร่างกาย 3.ตรวจ Lab 4.ตรวจพิเศษอื่นๆ
ชนิด
Simple febrile seizure
-มีไข้ร่วมกับชักเด็กอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี -ชักสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
Complex febrile seizure
-ชักเฉพาะที่หรือทั้งตัว -ชักมากกว่า 15 นาที -ชักซ้ำ มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
โรคลมชัก (Epilepsy)
อุบัติการณ์
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท เพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการ
ระยะก่อนอาการชัก Preictal period
อาการนำ
ไม่มีอาการจำเพาะ
อาการเตือน
มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน
ระยะที่เกิดอาการชัก
มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที Ictal event
ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง Postictal peroid
สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
ช่วงเวลาระหว่างการชัก Interictal peroid
ชนิด
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักแกร็ง
กระตุกทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
ชักเหม่อ
เกร็งกระตุก
ชักกระตุก
ชักเกร็ง
ชักตัวอ่อน
ชักสะดุ้ง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้ออระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission
หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
เมื่อเทียบกับทรวงอก ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
อาการทางคลินิก
หัวบาตร รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง เห็นเส้นเลือด ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การผ่าตัด
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(ExternalVentricularDrainage,)
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคเเทรกซ้อนจากการผ่าตัด
สายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction)
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt infection)Epidermidis
IICP
รักษาเฉพาะ
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก
การรักษาเบื้องต้น
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา
ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ
การให้ยาขับปัสสาวะ เช่น Furosemide ,Osmotic diuritics
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
อุบัติการณ์
มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาวเกิดจากเชื้อ นิวโมคอคคัส H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส เพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการ
คอแข็ง (Nuchal rigidity) ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ
การตรวจน้ำ CSF
ค่าปกติของน้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ไข้กาฬหลังเเอ่น (Meningococal Meningitis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
อาการ
Acute Meningococcemia
ปวดศีรษะ เจ็บ
คอและไอ เป็นอาการนำมาก่อน ไข้สูง อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้ำขึ้น
ตามตัว
Chronic Meningococcemia
มีไข้ ผื่นตามผิวหนัง
อาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน
Fulminant Meningococcemia
เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่
ทำงาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน
ระยะติดต่อ
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คนทาง (droplet)เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้า
ในกระแสเลือดเลือดออกตามผิวหนัง
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อ
หุ้มสมองทำให้เกิดอาการ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ผู้ที่สามารถแพร่เชื้อได้ คือ ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้
จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone
การรักษาแบบประคับประคอง
การป้องกัน
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค
รีบให้ยาฆ่าเชื้อแก่ผู้สัมผัสที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยทันที
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า MIC
seminested-PCR
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน
แรงทั้งสองข้าง
Spina Bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังมี hydrocephalusร่วมด้วยร้อยละ 80-90
ชนิด
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกันเกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
ถุง หรือก้อนที่พบ
Meningocele
เยื่อหุ้มสมอง
น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele
มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ :มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย : แขนขาอ่อนแรง
การตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ alpha fetoprotein, CT
การรักษา
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ
ไม่มีประสิทธิภาพ
สมองขาดออกซิเจน Cerebral palsy
สมองพิการ Cerebral palsy
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Extrapyramidol cerebral palsyเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
กิจกรรมการพยาบาล:
เเรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
ได้รับการดูเเลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
คำเเนะนำในการกินยากันชัก
รับประทานยากันชักสม่ำเสมอต่อเนื่่องตามเวลา
เมื่อไม่สบายไม่ควรซื้อยารับประทานเอง
ขับถ่าย
ดูแลให้เด็กได้รับน้้ำอย่างเพียงพอ
ทำความสะอาดผิวหนังทุกครั้งหลังการขับถ่ายทั้งปัสสาวะและ
เปลี่ยนผ้าอ้อมหรือกางเกงทุกครั้งที่เด็กขับถ่าย
เเนะนำเกี่ยวกับสุขภาพ
รับประทานอาหารครบ 5 หมู่
การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
การพักผ่อนให้เพียงพอ
ความสะอาด
อาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้าให้เด็กทุกวัน
สระผมให้เด็กบ่อยๆ
ทำงานของสมอง ที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
นางสาวณิชาภัทร ขัติยะ ชั้นปีที่ 2 ห้อง B เลขที่ 24
รหัสนักศึกษา 613601132