Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก, image, image, image…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก
ระดับความรู้สึกตัว
การรับรู้ผิดปกติ disorientation
รู้สึกง่วงงุน lethargy / drowsy
รู้สึกสับสน confusion
ไม่รู้สึกตัว stupor
รู้สึกตัวดี full consciousness
หมดสติ coma
ท่าทาง posturing ของเด็ก
ภาวะไม่รู้สึกตัว : นอนหงาย แขน2ข้างงอเข้าหาตัว กำมือแน่น งอมือ2ข้าง เหยียดปลายเท้าออก งอปลายเท้าเข้าหากัน พบในเด็กที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortexอย่างรุนแรง
ภาวะหมดสติ : นอนหงาย แขนเกร็ง2ข้างเหยียดออกคว่ำแขนลงบิดข้อมือออกด้านข้าง ขา2ข้างเกร็งเหยียดออกและแยกออกจากกัน พบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน midbrain ไม่สามารถทำงานได้ปกติ
ภาวะชักจากไข้สูง Febrile convulsion
สาเหตุ
: การติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
: เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
ช่วงอายุก่อน 1 ปี
ความผิดปกติของระบบประสาท
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับชัก
ชักเป็นแบบทั้งตัว
ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
มากกวา่ 15 นาที
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
เกิดการชักซ้ำ
มีความผิดปกติของระบบประสาท
โรคลมชัก Epilepsy
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำ อย่าง น้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง ผลจากเซลส์ประสาทสมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
: ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือ หลังคลอด เป็นต้น
ไม่ทราบสาเหตุ
: จากความผิดปกติของ Neurotransmission จากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
: จัดอยู่ใน กลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ :
ไม่มีอาการจำเพาะ
อาการเตือน
: ต่างกันตามตำแหน่งของสมอง
Ictal event ระยะที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใด
ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
เกิดขึ้นเอง
มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid การชักสิ้นสุดลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
Interictal peroid ช่วงเวลาระหว่างการชัก
อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดและกลุ่มอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อประมาณ 5 – 10 วินาที
อาการเกร็งกระตุก
หมดสติร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวนานไม่เกิน 30 วินาที ตามด้วยกล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะประมาณ 1 – 2 นาที
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
ลักษณะเกร็งแข็ง จากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที
อาการชักตัวอ่อน
มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที 1-2 วินาที
อาการชักสะดุ้ง
มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก อาการคล้ายสะดุ้งตกใจ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Meningitis
มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว เพราะเป็นช่วงที่ระบบ ต้านทานในทางเดินหายใจทำงานน้อยลง เกิดจากเชื้อ นิวโมคอคคัส H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
เชื้อมักจะเข้าทางหูชัั้นกลางอักเสบ
โพรงอากาศจมูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการ คอแข็ง Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
รายที่เกิดจากเชื้อเมนิงโกคอคคัสจะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนังจุดเลือดออก
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง (5 – 15 มม.ปรอท)
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
ชนิดของเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
เฉียบพลันจากไวรัส
วัณโรค
โรคกาฬหลังแอ่น
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
การเก็บสิ่งส่งตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า MIC
วิธี seminested-PCR
วิธีการติดต่อ
droplet มีระยะฟัก ตัวประมาณ 2-10 วัน
(เฉลี่ย 3-4 วัน) เชื้อนี้ทำให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่าง รวดเร็ว
Meningococcemia
Acute Meningococcemia ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ ท างาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ ลงอย่างรวด
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
ต้องได้รับยาป้องกันได้แก่ Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
การควบคุมป้องกันโรค
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคแก่ประชาชน
ใช้วัคซีนป้องกันโรค
ผู้ที่จะเดินทางไปในที่ที่มีการระบาดของโรคนี้ คือ การฉีดวัคซีน
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus
Obstructive Hydrocephalus
Communicate Hydrocephalus
อาการแสดงทางคลินิค
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้
รีเฟลกซ์ไวเกิน
หายใจผิดปกติ
สติปัญญาต่ ากว่าปกติ
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
การรักษา
รักษาด้วยยา
ขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ สร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
การรักษา IICP
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP
รักษาเบื้องต้น
จัดท่านอนนอนราบศรีษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลยี่นแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว รักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ เพื่อลดความดัน PaCO2
ให้ยาขับปัสสาวะ
รักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญคือ มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
spina Bifida
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ lumbosacrum
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
: ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่
Spina bifida cystica
: ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
Meningocele ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้อง ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ Cerebral palsy
ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Extrapyramidol cerebral palsyการ เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย
Mixed type
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อ ติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
ทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
แรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ได้รับการพยาบาลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ครอบครัวเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
นางสาวอัญมณี แอสมจิตร์ ปี2B เลขที่100 รหัสนักศึกษา 613601209