Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism / AFE) -…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism / AFE)
ความหมาย
ทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานระบบหายใจ ระบบหัวใจและ การไหลเวียนโลหิต
เป็นภาวะฉุกเฉินทางการคลอดที่มี ลักษณะเฉพาะ 3 ประการ
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)
ภาวะความดันโลหิตต่ำ (hypotension) อย่างทันทีทันใด
ภาวะที่มีน้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา
ถ้าไม่ตายทันที จะมีภาวะผิกปกติของกลไกของการแข็งตัวของเลือด พร้อมกับมดลูกหดตัวไม่ดีทำให้เลือดออกผิดปกติ
ปัจจัยส่งเสริม
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
การบาดเจ็บในช่องท้อง
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
มดลูกแตก
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
รกเกาะต่ำ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การคลอดเฉียบพลัน
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
การเร่งคลอด โดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
อาการและอาการแสดง
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด (pulmonary edema)
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
*หายใจลำบาก (dyspnea) เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด เขียวตามใบหน้า และลำตัว(cyanosis)
*ความดันโลหิตต่ำมาก (low blood pressure)
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ชัก
เหงื่อออกมาก
หมดสติ (Unconscious) และเสียชีวิตในเวลาต่อมา
*อาการหนาวสั่น (chill)
*ถ้าเกิดอาการนานกว่า1ชั่วโมง ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกการเข็งตัวของเลือดเสียไป และเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรง หากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
*การป้องกัน
การเจาะถุงน้ำควรทำด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
ไม่ควรทำ membranes stripping >> เลือดำบริเวณปากมดลูกด้านในฉีดขาด
ไม่เจาะถุงน้ำคร่ำก่อนมดลูกเปิดหมด
การตรวจภาวะรกเกาะต่ำ ควรทำด้วยความระมัดระวัง >> เกิดการแยกของรกจากผนังมดลูกด้านริมรก >> เส้นเลือดดำที่ขอบรกฉีดขาดได้
ให้ Oxytocin ด้วยความระมัดระวัง >> ไม่ควรเบ่ง
สังเกตอาการในผู้คลอดที่ถุงน้ำแตกแล้ว และมดลูกมีการหดรัดตัวรุนแรงร่วมกับมีการฉีดขาดของผนังมดลูก ปากมดลูก
จัดให้นอนท่าศีรษะสูง พร้อมทั้งให้ออกซิเจน 6-8 LPM ทางหน้ากาก
การกระตุ้นการเจ็บครรภ์ ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocindrip ควรทำอย่างระมัดระวังดูอาการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด และไม่ควรเจาะถุงน้ำมดลูกเปิดหมด
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ จากคอมดลูก
เจาะถุงน้ำควรทำอย่างระมัดระวังไม่ให้ถูกปากมดลูก
ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง (cardiovascular collapse)
เลือดออก
อาการเขียว
ไม่รู้สติ
ระบบหายใจล้มเหลว (respiratory distress)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคลื่นไฟฟูาหัวใจ (ECG) จะพบลักษณะtachycardia STและ T wave เปลี่ยนแปลง และ มีRV strainได้
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจหา Sialy 1TH antigen จะพบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน (lanugo hair)
ผละกระทบ
มารดา
ยังพบว่า 1 ใน 3 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด มักเสียชีวิตภายใน30นาทีถ้ามี ผู้รอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ทำให้ผู้คลอดเสียชีวิตจากการเสียเลือด ช็อค พบว่า ร้อยละ 39 ของผู้เสียชีวิตเกิดขึ้นภายในร้อยละ 1 ชั่วโมง หลังจากเริ่มปรากฏอาการ
ทารก
โดยทั่วไปโอกาสรอดของทารกมีประมาณร้อยละ 70
ครึ่งหนึ่งของทารกที่รอดชีวิตจะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
มารดาที่หัวใจและปอดหยุดทำงาน โอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย
การรักษา
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำ Dopamine ,Norepinephrine, Epinephrine
รักษาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ(DIC) โดยให้ยา Heparin
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยาoxytocin หรือmethergin ทางหลอดเลือดดำ
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด เพื่อแก้ไขBP dorp โดยการให้IV เพื่อเพิ่มปริมาตรเลือด พลาสมา และสารไฟบริโนเจน แก้ไขภาวะสารไฟบริโนเจนในเลือดต่ำ
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยจัดให้นอนFowler‘s position ให้ออกซิเจน100%
ยา
ให้ยา Hydrocortisone 1 gm. IV drip >> ช่วยภาวะหดเกร็งของหลออดเลือดฝอยของปอด ทำให้การดูดซึมกลับของสารน้ำในเนื้อเยื่อต่างๆดีขึ้น
ให้ยา Isoprenaline 0.1 gm. IV >> เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของเลือดในปอดและการทำงานของหัวใจดีขึ้น
ให้ยา Digitalis >> ช่วยให้หัวใจบีบตัวช้าลง แรงขึ้น เลือดออกจากหัวใจมากขึ้น
ให้ยา Morphine >> ลดการคั่งขงเลือดดำในปอด อาการหอบ และเขียว
ให้ Fresh whole blood, FFP, Platelet concentrated >> แก้ไขภาวะ fibrinogen ในเลือดต่ำ/เพิ่ม Biood voume
ถ้าทารกในครรภ์ยังมีชีวิตอยู่ ให้ C/S โดยด่วน
หาก PPH >> ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก/คลึงมดลูกตลอดเวลา >>หากไม่ได้ผลควรพิจารณาตัดมดลูกออก
ถ้าทารกรอดชีวิต >> ติดตามแก้ไขภาวะแทรกซ้อน
Renal failure
Sheehan's syndrome
Pneumonia
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการตกเลือดอย่างรุนแรงและเกิดภาวะช็อค เนื่องจากการขาดกลไกการแข็งตัวของเลือด
สังเกตอาการผิดปกติ เช่น หน้ามืดเหงื่อออกใจสั่น ตัวเย็น ความดันโลหิตต่ำ เพื่อการประเมินอย่างรวดเร็ว และช่วยเหลือได้เร็ว
เตรียมช่วยมารดาในภาวะฉุกเฉิน ทั้งด้านการหายใจ การตกเลือด เพื่อการช่วยฟื้นคืนชีพ
งดน้ำและอาหารเตรียมช่วยเหลือการคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการโดยด่วน
บันทึกจำนวนปัสสาวะ เพื่อประเมินการทำหน้าที่ของไต
ให้สารน้ำและให้เลือดตามแผนการรักษา
บันทึกสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 15 นาที เพื่อประเมินสภาพทั่วไป และเปลี่ยนแปลงของมารดา
เกิดภาวะขาดออกซิเจนทั้งมารดาและทารก เนื่องจากการหดเกร็งของหลอดเลือดที่ปอดมารดา
ให้ออกซิเจนให้เพียงพอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในมารดาและทารก
บันทึกV/S ทุก 15 นาทีเพื่อประเมินสภาพทั่วไปและอาการเปลี่ยนแปลงของมารดา
ฟังและบันทึกเสียงการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ทุก 15 นาทีเพื่อประเมินสภาพของทารกในครรภ์
จัดท่านอน Fowler’s position
ดูแลมารดาอย่างใกล้ชิดตลอดเพื่อประคับประคองทางด้านจิตใจของมารดา
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด เนื่องจากมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดอุดกั้นหลอดเลือดในปอด เช่น การให้ยาเร่งคลอดครรภ์คลอดที่รุนแรงการเจ็บค การเจาะถุงน้ำ และการตกเลือดหลังคลอด
ในมารดาที่ถุงน้ำคร่ำแตก ถ้าลักษณะของน้ำคร่ำควรสังเกตอาการปลี่ยนแปลงของมารดาอย่างใกล้ชิด
สังเกตอาการแสดงระยะแรก ได้แก่อาการหอบเหนื่อย อาการเขียว เพื่อประเมินอย่างรวดเร็ว และ ให้การช่วยเหลือได้เร็ว
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกถ้ารุนแรงผิดปกติควรรายงานแพทย์ เพื่อเตรียมการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
ประเมินเสียงหัวใจของทารกในครรภ์เพื่อประเมินสภาพทารกในครรภ์
เฝ้าระวังในมารดาที่ได้รับยาเร่งคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของลักษณะหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลด้วยท่าทีที่เป็นมิตรและเต็มใจให้การดูแลช่วยเหลือ เพื่อให้มารดามีความมั่นใจ อบอุ่นใจ และกล้าบอกอาการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติของมารดาให้พยาบาลทราบ
การพยาบาล
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด มักพบระยะคลอดและหลังคลอดทันที
การเจาะถุงน้ำ
การตกเลือดหลังคลอด
การเจ็บครรภ์คลอดที่รุนแรง
การให้ยาเร่งคลอด
มีภาวะชักเกร็งโดยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อนมีภาวะเขียวทั่วทั้งตัว หรือเริ่มเขียวเป็นบางส่วนของร่างกาย
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยคีมหรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี และกลไกการ แข็งตัวสูญเสียไป
เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพ ในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว (cardiacarrest)
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก ภายใต้การดูแลในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยหนัก (intensive care unit) เพื่อดูแลระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ให้ออกซิเจน
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
จัดให้มารดานอนในท่า fowler