Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้จะรุนแรงหรือก่อให้เกิดความเจ็บปวด
ระดับความรู้สึก
รู้สึกตัวดี (full consciousness)
สับสน (confusion)
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ง่วงงุน (lethargy / drowsy) เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย พูดช้าและสับสน ไม่โต้ตอบ เรียกว่า obtundation
stupor ไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้าๆหลายครั้ง
หมดสติ (coma) ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง
ท่าทาง (posturing)
Decorticate posturing
Decerebrate posturing
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
หมดสติระดับลึก (deep coma) reflexes หายไป
Glasgow Coma Scale
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V) V5
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response : M) M6
การสนองตอบด้วยการลืมตา (Eye opening : E) E4
เคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ : ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
มีไข้สูงเกิน 38 °c อายุ 6 เดือน – 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ไม่มีไข้ นึกถึง ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับบาดเจ็บ
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ (0-5)
ความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
ความผิดปกติในการดูดซึมน้าไขสันหลัง post meningitis
อาการแสดงทางคลินิก
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน (Suture separation)
หัวบาตร(Cranium enlargement)
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดา(Enlargement & engorgement of scalp vein)
การรักษา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการสร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ผ่าตัดใส่สายระสู่ช่องในร่างกาย ลงช่องท้อง, หัวใจ,ปอด,ใต้เยื่อหุ้มสมอง
สายระบาย
จากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บนาหล่อสมอง(Reservoir)
ลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติ มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อ
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง(Intraventricular
hemorrhage)
ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
IICP
เบื้องต้น มี IICPสูงเฉียบพลัน
ซึม ไม่รู้สึกตัว เพื่อลดความดัน PaCO2 ในหลอดเลือดแดงให้อยู่ระหว่าง 30 – 35 mmHg.
ให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดา
ความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
นอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของน้าไขสันหลังกลับสู่หลอดเลือดดาได้ดีขึ้น
เฉพาะ : เนื้องอก การอุดกั้นทางเดินน้าไขสันหลัง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสาคัญ : มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีนไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
Spina Bfida มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตำแหน่งที่บกพร่อง บริเวณ lumbosacrum
occulta : ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เป็นช่องโหว่ง L5 หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
cystica : ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน
Meningocele : ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ตำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
Myelomeningocele : ผิดปกติ อันตรายและเกิดความพิการ ความรุนแรงขึ้นกับตำแหน่ง ขับถ่ายผิดปกติ เท้าปุก การหดรั้งของข้อ สมองบวมน้ำ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย : แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
ตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ , CT, ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transillumination test)
ซักประวัติ : มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ , ได้ยากันชักประเภท Valporic acid
การรักษา
occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
การป้องกัน : ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
สติปัญญาบกพร่อง
อาการสาคัญ : ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP :Cerebral palsy )
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia : มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง คอและลาตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้าลายไหล
Splastic diplegia : มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2
ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia : ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว การทรงตัวผิดปกติ
การประเมินสภาพ
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติพัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้น เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง
แนวคิดสำคัญ
ความดันในช่องสมองผิดปกติ
การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ความบกพร่องของสติปัญญา
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ความไม่รู้สึกตัว
บทบาทพยาบาล
มีความผิดปกติทางระบบประสาท
ให้คำแนะนำบิดามารดา
รวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
ประเมินทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว การสื่อสารทางคำพูด
การเคลื่อนไหวและการทรงตัว การลืมตา และรูม่านตา
การตรวจพิเศษต่าง ๆ
น้ำไขสันหลัง
คลื่นสมอง : MRI
ประเมินสัญญาณชีพ
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
ชักกับมีไข้ ไม่ได้เกิดติดเชือของระบบประสาทหรือไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ ในอายุมากกว่า 1 เดือน โดยไม่เคยชัก ไม่มีไข้มาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงการชักซ้า
ความผิดปกติของระบบประสาทก่อนชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
อายุ มีชักครั้งแรกในอายุก่อน 1 ปี
ไข้กับการติดเชื้อ
สาเหตุ : ติดเชื้อที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส ใน 24 ชม.แรกที่มีไข้
อายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากอายุ 17 – 24 เดือน
ชนิด
Complex febrile seizure
มากกว่า 15 นาที
ชักซ้ำในครั้งเดียวกัน
เฉพาะที่หรือทั้งตัว
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
เสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์
จะให้ยาป้องกันการชัก เช่น Phenobarbital หรือ Valproic acid
Simple febrile seizure
ไข้กับชักในอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
แบบทั้งตัว (generalized seizure)
เกิดสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่ชักซ้ำในครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
การประเมินสภาพ
ประเมินสภาพร่างกาย : การตรวจร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ และตรวจพิเศษอื่น ๆ
ซักประวัติ
ไข้ , การติดเชื อ , ประวัติครอบครัว , การได้รับวัคซีน , โรประจาตัว,
ประวัติการชัก , ระยะเวลาของการชัก
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป ครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจักระตุ้น
อุบัติการณ์
อายุ 2-5 ปี และเมื่ออายุเพิ่มขึ้นจะลดลง
ชายมากกว่าหญิง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ :ติดเชื้อ,ภยันตรายคลอดหรือหลังคลอด,ที่ศีรษะ, ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่,น้ำตาลในเลือดต่ำ,ความผิดปกติพัฒนาการทางสมอง,โรคหลอดเลือดสมอง,สารพิษและยา,โรคระบบประสาทร่วมกับความผิดปกติของผิวหนัง, โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ : ความผิดปกติของ Neurotransmission เกิดจากความผิดปกติของยีน
หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period ก่อนชัก
นำ (Seizure prodromes) อาการบางอย่าง อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก ไม่จำเพาะ ระหว่างเกิดไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
เตือน (Aura) อาการต่างกันตามตาแหน่งของสมอง เช่น มีอาการปวด ชา เห็นภาพหลอน
Ictal event หรือ Peri-ictal period ชัก
ตั้งแต่วินาทีจนถึงนาที ไม่เกินครึ่งชั่วโมง
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ทันทีทันใด สั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง มีส่วนน้อยที่ชักและดำเนินต่อเนื่องเป็น Status epilepticus
Postictal peroid สิ้นสุดลง มีอาการ
ทางคลินิค มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง อาจเกิดนานหลายวินาทีถึงหลายวัน ไม่เกิน 24 ชั่วโมง มีอาการได้แก่ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Automatism เคลื่อนไหวอัตโนมัติขณะชัก หรือพฤติกรรมที่่สัมพันธ์ของกล้ามเนื้อไม่มีจุดประสงค์แต่เลียนแบบท่าทางปกติ เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่าหงายสลับกัน
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Interictal peroid ระหว่างชัก หลังชักหนึ่งสิ้นสุดลงจนชักใหม่ ไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดและกลุ่ม
ลักษณะ
ชักทั้งตัว จากเสียหน้าที่ของสมองทั้ง 2 ซีก
เหม่อ (Absence) เหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวชั่วครู ทันทีเป็นเวลาสั้นๆ
แบบตรง ชักเหม่อลอยไม่รู้สึกตัว 5 – 10 วินาที ทันทีและหายทันที
ไม่รู้ตัวหรือไร้สติเท่านั้น
กระตุกหรือสะดุ้งเป็นเวลาสั้นๆ อาจมีหนังตากระตุกร่วมด้วย
ตัวอ่อนร่วม
เกร็งกล้ามเนื้อร่วม อาจเฉพาะที่กล้ามเนื้อใบหน้าหรือคอ
เกร็งกระตุกทั้งตัว หมดสติร่วมกับเกร็งกล้ามเนื้อไ ม่เกิน 30 วินาที กระตุกเป็นจังหวะ 1 – 2 นาที ไม่เกิน 5 นาที
กระตุก (Clonic seizures) เป็นจังหวะของอาการชัก
เกร็ง (Tonic seizures) แข็ง กล้ามเนื้อตึงตัวมากขึ้น 2 – 10 วินาที แขนขาเหยียดตรง ทันทีหรือค่อยเป็นไป อาจมีสั่่นจากกล้ามเนื้อหดตัว ถ้าไม่รู้สติ เสี่ยงต่ออันตรายขณะชัก
ตัวอ่อน (Atonic seizures) เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อทันทีเมื่อชัก 1-2 วินาที ในอายุน้อยกว่า 5 ปี และพัฒนาการช้า
สะดุ้ง (Myoclonic seizures) มีการหดตัวของกล้ามเนื้อรุนแรงและรวดเร็ว คล้ายสะดุ้งตกใจ ใช้เวลาไม่กี่วินาที
เฉพาะที่
มีสติ ขณะชักรู้ตัวตลอดเวลา บอกได้ว่ามีลักษณะอย่างไร ดาเนินไปอย่างไร
ขาดสติ ขณะชักสูญเสียการรับรู้สติ เมื่อสิ้นสุด จำไม่ได้
ชักทั้งตัว เกร็งกระตุก จากส่วนหนึ่งของร่างกายแล้วค่อยๆ ไปต่อเรื่อย ๆ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
อักเสบเฉียบพลัน ชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
ในอายุต่ำกว่า 5 ปี เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว คือ Haemophilus influenzae, Neisseriameningitidis, Streptococcus peumoniae
อุบัติการณ์ : เกิดหน้าหนาว เพราะระบบต้านทานในทางเดินหายใจทางานน้อยลง ชายมากกว่าหญิง อายุ 2 เดือน ถึง 7 ปี เชื้อเข้าทางหูชั้นกลางอักเสบ (Otitis media) โพรงอากาศจมูกอักเสบ (Sinusitis) ติดต่อทางเดินหายใจ น้ำมูก น้ำลาย
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง (Nuchal rigidity) คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย
ตรวจพบ Kernig sign และBrudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทาลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8)
เชื้อเมนิงโกคอคคัส จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก
กระจายทั่วๆ ไป รวมทั งมีเลือดออกที่ต่อมหมวกไตด้วย
พบNeutrophilถึง ร้อยละ 85-95 ใน CSFประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร ทำการเพาะเชื้อจะพบเชื้อชนิดที่อยู่ในเซลล์และนอกเซลล์
ประเมินสภาพ
Meningeal Irritation
Babies and Toddlere
ตรวจน้ำไขสันหลัง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides แกรมลบ กลมคล้ายเมล็ดถั่ว เป็นคู่ๆ หันด้านเรียบเข้าหากันไม่สร้างสปอร์ แบ่งออกเป็น 13 ซีโรกรุ๊ป
A, B, C, D, H, I, K, L, X, Y, Z, 29E และ W135 ที่พบบ่อยๆ คือ ซีโรกรุ๊ป A, B, C, Y และ W135
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
ชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
ตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
seminested-PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) แพร่โรคได้ จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ามูก น้าลายแล้ว
เชื้้อจะหมดไปจากช่องโพรงจมูกทางด้านหลัง ( nasopharynx ) 24 ชั่วโมง
ได้รับยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม penicillin ยับยั้งเชื้อได้ชั่วคราว แต่ไม่หมดไป
วิธีการติดต่อ : คนสู่คน ทางละอองน้ามูก น้าลาย (droplet) ของผู้ที่เป็นพาหะ (ผู้ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ) ฟักตัว 2-10 วัน (เฉลี่ย 3-4 วัน)
เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) โดยเลือดเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดมาก มีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง รุนแรงจะมีเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis)
ไม่มีอาการหรือน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ เกิดอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มีอาการ แพร่เชื้อต่อไป
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้าเลือด(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
Meningitis ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน แย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
Acute Meningococcemia ปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ นำมาก่อน ไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้าขึ้นตามตัว ใน 2-3 วัน คล้ำจนเป็นสะเก็ดสีดำ บางทีเป็นตุ่มน้ำ มีจุดแดงตรงกลาง ส่วนใหญ่มีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia พบได้น้อย มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง แดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้อเป็นเดือน ไข้เป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia รุนแรง ไหลเวียนไม่ทำงาน อาจช็อคถึงเสียชีวิตได้ ไม่นานหลังเริ่มมีอาการ ส่วนมากเริ่มมีไข้สูงทันทีอ่อนเพลียมาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย ไม่มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เพราะเป็นระยะสั้นๆ
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
ประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
การป้องกันและควบคุม
ผู้สัมผัสโรค : ใกล้ชิด ต้องได้รับยา Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์การป้องกัน เลี่ยงสัมผัสละอองน้ำมูก น้ำลาย
ไม่อยู่ที่แออัด หนาแน่น อากาศถ่ายเทไม่สะดวกเป็นเวลานาน
ออกกำลังกาย และเลี่ยงหักโหมจนพักผ่อนไม่เพียงพอ
ใช้วัคซีนป้องกันโรค ใน Serogroups A, C, Y และ W135 ทั้งผู้ใหญ่และเด็กโต
ฉีดในกลุ่มเสี่ยงสูง เช่น ผู้ที่อยู่หรือเข้าไปในพื้นที่ที่เกิดการระบาด พิธีฮัจย์ กลุ่มทหาร และกลุ่มที่มีภูมิต้านทานต่า ช่วยลดความเสี่ยงต่อการติดโรคได้
ยา penicillin และ chloramphenical มีประสิทธิผลดีต่อการรักษาโรค