Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กป่วย, นางสาวณัฐนรี ธีรวันอุชุกร รุ่น 36/1…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กป่วย
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยเรียน
หย่อนความสามารถในเรื่องเรียน
สูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย
วัยรุ่น
ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง
วัยก่อนเรียน
มีความยากลำบาคในการเรียนรู้
อาจคิดว่าการอยู่โรงพยาบาล คือการลงโทษ
วัยทารก
กินได้น้อยลง ถูกจำกัดกิจกรรม เจ็บปวด
ขาดการกระตุ้นประสาทจากสัมผัสมารดา
พัฒนาการของเด็ก
วัยเดิน
อาจคิดว่าบิดา มารดาทิ้ง
รู้สึกหวาดกลัว ไม่สามารถทำอะไรได้ด้วยตนเอง
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษา
ต้องมีการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวและเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยได้รับความเจ็บป่วยในครั้งก่อน
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
พัฒนาการตามวัยเด็ก
ความหมายของเด็ก
อายุยังไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์
แรกเกิดถึง 15 ปี
อายุเกิน 7 ปี บริบูรณ์ไม่ถึง 15 ปี
ด้านสุขภาพ
Toddler 1-3 ปี
Preschool age ก่อนเรียน 3-5 ปี
Infant มากกว่า 28 วันถึง 1 ปี
School age วัยเรียน 6-12
Newborn แรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Critical care concept
Stress and coping
Pain management
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา ทางพฤติกรรม
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน Pain ในเด็ก
CHEOPS
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
พยาบาลประเมิน
การแปลผล
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
5-7 = ปวดน้อย
0-4 = ไม่ปวด
FLACC
ใช้กับเด็ก 1 เดือน - 6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู้ระหว่าง 0-10
พยาบาลประเมิน
Neonatal Infants Pain Scale
Faces Scale
การใช้รูปแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกการปวด
นิยมใช้ในเด็กเล็กหรือคนชราที่ไม่สามารถสื่อสารก้วยคำพูดได้
Cries Pain Scale
Numeric rating scales
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
บทบาทพยาบาลและการประเมินความปวด
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
ระหว่างการประเมินควรบันทึกเพื่อเป็นข้อมูล
สร้างความสัมพันธ์ที่ดี
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบคำถามได้ อาจสอบถามจากผู้ดูแลหรือสังเกตพฤติกรรม
หลักการประเมินความปวด
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยและใช้วิธีเดียวกันตลอด
เด็กเล็ก ควรได้รับการดูแลเป็นพิเศษ
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
ประเมินก่อนให้การพยาบาล
หลี่กเลี่ยงคำถามบดบังข้อเท็จจริงหรือกระตุ้นอารมณ์เศร้า
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง
ดึงผม เอาศีรษะฟาดเตียง
เด็กจะยอมร่วมมือ ต่อต้านเพียงเล็กน้อย
โศกเศร้า แยกตัวเงียบๆ ร้องไห้น้อยลง พฤติกรรมถดถอย
เมื่อมารดามาเยี่ยมจะร้องไห้รุนแรง
ระยะปฏิเสธ
เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อม แต่เก็บความรู้สึกไว้
หลีกเลี่ยงที่จะใกล้ชิดกับคน ไม่กล้าเสี่ยงไว้วางใจบิดามารดาอีก
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ปฎิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความเจ็บปวดทางกายเนื่อจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก(Separation anxiety)
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบสำคัญ
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่นเข้สถึงได้และตอบสนองความต้องการ
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
การสนับสนุน
เคารพและยอมรับในความหลากหลาย
ความร่วมมือ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็งและมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวอธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่าง
การตระหนักและการเคารพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chornic)
ระยะวิกฤต (Crisis)
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ระยะสุดท้าย (Death/Dying)
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
คุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในด้านพัฒนาการ
มีสภาพเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม ความสุข
สิทธิในการมีชีวิต
คลอดออกมาแล้วอยู่รอดปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม
แสดงออกด้านความคิดและการกระทำของเด็ก
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
เด็กวัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับมาได้
ความตายเปรียบเสมือนการนอนหลับ
บางคนเข้าใจว่าความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิต
วันเรียน
เข้าใจว่าตนเองอาจจะตายสักวันนึง
เข้าใจพิธีการงานศพ
เรียนรู้ว่าตนเองอาจมีชีวิตเติบโตหรือตายจากไป
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลเป็นที่รัก
เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับมาไม่ได้
วัยแรกเกิดและวัยทารก
จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือไม่สุขสบาย
หากเด็กอยู้ในระยะสุดท้าย ควรช่วยเหลือให้ผ่านช่วงความตายโดยไม่ทุกข์ทรมาน
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างผ่านการสัมผัส กลิ่น เสียง
ไม่ปล่อยให้เด็กเผชิญความตายโดยลำพัง
วัยรุ่่น
เป็นวัยที่มองว่าเรื่องความตายเป็นเรื่องไกลตัว
พ่อแม่หรือผู้ดูแลควรให้ความรัก เอาใส่ใจถึงไม่ร้องขอ
นางสาวณัฐนรี ธีรวันอุชุกร รุ่น 36/1 รหัสนักศึกษา 612001039 เลขที่ 38
อ้างอิง : อัมพร รอดสุทธิ์. (2557). การดูแลเด็กป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล.