Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก, นางสาว ศิลป์ศุภา …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
Febrile convulsion
การชักที่สัมพันธ์กับไข้ โดยไม่เกิด จากการติดเชื้อในสมอง
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
การชักเป็นแบบทั้งตัว (generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั น ๆ ไม่เกิน 15 นาที
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ไม่มีการชักซ าในการเจ็บป่วยครั งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
ระยะเวลาการชักเกิดนานมากกวา่ 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ชักแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว(Local or Generalized seizure)
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร , ทางเดินปัสสาวะ , ทางเดินหายใจ
อาการและอาการแสดง
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
เกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
การพยาบาล
ประเมินและบันทึกลักษณะการชักระดับการรู้สติ ก่อนและหลังชัก ระยะเวลาที่ชักความถี่ของการชัก
ขณะชักจัดให้ผู้ป่วยตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำาลายไหลออกจากปาก ไม่สำลักเข้าไปในทางเดินหายใจ และลิ้นไม่ตกอุดหลอดลมรวมทั้งดูแลทางเดินหายใจให้โล่งอยู่เสมอ
3.ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่นนาน 10–15 นาที ทุก 2 ชั่วโมงเพราะไข้สูงจะกระตุ้น ให้เกิดการชักซ้ำได้อีก
Epilepsy
ภาวะที่เกิดอาการ Seizure ตั้งแต่ 2 episodes ขึ้นไป โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุภายนอกเช่น การติดเชื้อในสมอง อุบัติเหตุทางสมอง โดยอาการชักที่เกิดขึ้น 2 episodes ต้องห่างกันไม่น้อยกว่า 24 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง,ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือ หลังคลอด,ภยันตรายที่ศีรษะ,ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย ความผิดปกติพัฒนาการทางสมอง
ไม่ทราบสาเหต
ความผิดปกติของ Neurotransmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ใน กลุ่ม Symtomatic epilepsy
ชนิดและลักษณะเฉพาะของภาวะชัก
Partial
Simple partial seizures
Complex partial seizures
Focal with secondarily generalized seizures
Generalized seizures
Absence
Atonic seizures
Clonic seizures
Tonic seizures
Myoclonic seizures
Myoclonic seizures
อาการและอาการแสดง
Preictal period
Ictal event
Postictal peroid
Interictal peroid
Meningitis
สาเหตุ
Neisseria meningitidis
Streptococcus peumoniae
Haemophilus influenzae
อาการและอาการแสดง
Kernig sign ให้ผลบวก
Brudzinski sign ให้ผลบวก
มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมอง ถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8)
Neutrophilถึง ร้อยละ 85- 95 ใน
CSFประมาณ 1,000-100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
ชนิด
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
กลูโคสต่ำ,โปรตีนสูง,เซลล์พีเอ็มเอ็น > 300/mm³
เฉียบพลันจากไวรัส
กลูโคสปกติ,โปรตีนปกติหรือสูง,เซลล์โมโนนิวเคลียร์, < 300/mm³
วัณโรค
กลูโคสต่ำ,โปรตีนสูง,เซลล์โมโนนิวเคลียร์และ พีเอ็ม เอ็น, < 300/mm³
Hydrocephalus
อาการและอาการแสดง
ศีรษะโตแต่กำเนิด
ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก
กระหม่อมหน้าโป่ง
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
สาเหตุ
Obstructive Hydrocephalus
Communicate Hydrocephalus
Congenital Hydrocephalus
การรักษา
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy
Ventriculo-peritoneal shunt
Ventriculo-atrial shunt
Ventriculo-pleural shunt
Torkildsen shunt
CSF Shunt
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
IICP
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic)
การจัดท่านอนนอนราบศรีษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลยี่นแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ เพื่อลดความดัน PaCO2 ในหลอดเลือดแดงให้อยู่ระหว่าง 30 – 35 mmHg
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม -Hydrocephalus : Obstructive , Communicating - ภาวะสมองบวม
Cerebral palsy
Splastic
Splastic quadriplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา ทั้ง 2 ข้าง คอและลeตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Splastic diplegia
มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Extrapyramidol cerebral palsy
เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia CP
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไม่ดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
อาการและการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว การทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
การประเมินสภาพ
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้น เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อ
Physical Therapy
เรียนรู้การเคลื่อนไหว และการปรับสมดุลย์ของร่างกาย
Speech and Language Therapy
ฝึกทักษะการสื่อสาร
ลดความเกร็ง โดยใชย้า
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีด กลุ่ม Botox
การผ่าตัด
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
Meningococcal Meningitis
Neisseria meningitides แกรมลบ
วิธีการติดต่อ
เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดิน หายใจ (droplet)
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่าง รวดเร็ว
การรักษา
Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
ยาป้องกันสำหรับผู้สัมผัสใกล้ชิด Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
Spina bifida
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน
เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5 หรือ S1
ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
Meningocele
ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลังไม่มีเนืื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele
ก้อนหรือถุงน้ำมีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง และไขสันหลัง
การวินิยฉัย
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
ได้ยากันชักValporic acid
ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transillumination test) แยกเพราะ meningocele จะโปร่งใสไม่มีไขสันหลังอยู่
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
Ricket
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็กความบกพร่องในการจับ เกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและ ฟอสเฟต
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึม แคลเซียมกลับได้น้อย
ความผดิปกติของการเผาผลาญ Vit D
Hypophosphatasia
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือ จากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น (pseudoparalysis)
ปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิ สภาพอาจมีความผิดปกติ ปวด ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR , CRP มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis
Bone scan ได้ผลบวก บอกต าแหน่งได้เฉพาะ
bone marrow edema
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
septic arthritis
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณ ใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิค
มีไข้มีการอกัเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วนัแรกของ การติดเชื้อข้อ
ผล Lab
เจาะดูดน้ำในข้อ มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อ
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย ทา ใหก้ารเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทา หนา้ที่เสียไป
Dislocation
joint destruction
avascular necrosis
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม
อาการและอาการแสดง
กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมา เลี้ยงมาก
กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้นกระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะ การอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง
เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูง ไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล+
ลักษณะทางคลินิค
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต
ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้ออาการขึ้นกับตำแหน่งที่เป็น เช่น ที่ขาจะปวดขา เดินกะเผลก ข้อยึด
กระดูกสันหลัง จะปวดหลัง หลังแข็ง เดินหลังแอ่น กระดูกสันหลังยุบ กล้ามเนื้อ อ่อนแรง อัมพาต ชาแขนขา
การรักษา
ใหย้าต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อ แก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรงหรือเป็มพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
Club Foot
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus)
ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus)
ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบไม่ทราบสาเหตุ
(ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot
neuromuscular
การรักษา
การดดัและใส่เฝือก
การผ่าตัด
osteotomy ทำในอายุ 3 – 10 ปี
subtalar soft tissue release ทำในอายุ < 3 ปี
Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
สาเหตุ
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Osteosarcoma
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักลด มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้ มักมี ประวัติการเกิดอุบัติเหตุ อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การ เคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย : น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหว ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางหอ้งปฏิบัติการ : MRI , CT เพื่อดูการ แพร่กระจายของโรค หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) และระดับแลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา
การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายของโรค
การผ่าตัด ,เคมีบำบัด,รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้า ท้องไม่สมบูรณ์
ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ ที่ ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion
ประกอบกันเป็น ผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุงปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่นอกช่อง ท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารและตับ
การรักษา
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) ทาที่ผนังถุง เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นข้ันตอน (staged repair)
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่ต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้อง พัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hernia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบางสามารถมองเห็นขดล าไส้หรือตับผ่านผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ดึงกระดูก( traction)
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
ชนิดของ( traction)
Bryant’s traction ( fracture shaft of femur )
Over Head traction traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture
Skin traction อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction เกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ORIF
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้
ใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
Volkmann’s ischemic contracture
ข้อศอกอาจจะงอ นิ้วจะงอทุกนิ้ว
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
Congenital muscular Torticollis
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป
เอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจาก กล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid ที่เกาะยึดระหว่างกระดูก หลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง
การรักษา
การยืดแบบให้เดก็หันศีรษะเอง (active streth)
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การใช้อุปกรณ์พยงุ (orthosis)
การผ่าตัด
Polydactyly
การรักษา ผ่าตัด
สาเหตุ พันธุกรรม
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวล าตัว ความจุในทรวงอก สองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
พยาธิสภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขา ยาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้อง ไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
วิธีการรักษา
การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษา ระดับไหล่และสะโพก
แบบอนุรักษนิยม (Conservation) กายภาพบำบัด , บริหารร่างกาย
การพยาบาล
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดย สังเกต และประเมินความปวด
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและ บริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา น้ำเหลืองซึม แผลเปิดหรือไม่
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (Logrolling) พร้อมสาธิตวิธีการเปลี่ยนท่านอน
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด เช่น อาการ ปวด ชา สูญเสียความรู้สึก
ให้ผู้ป่วยคุ้นเคยกับเฝือกปูนและการดึงถ่วงน้ำหนัก โดยใช้ตุ๊กตาเป็นแบบ สำรับผู้ป่วยเด็กเล็ก
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดล าตัว คือ ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว โดยมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับผิวหนัง
นางสาว ศิลป์ศุภา ประถม ห้อง 2B เลขที่ 75 รหัส 613601183