Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก, image, image,…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
Bone and joint infection
พบเชื้อโรคจากกระดูกหรือเนื้อเยื่อ ที่ติดกับกระดูก หรือผลชิ้นเนื้อแสดงถึงการติดเชื้อ
ระวังการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวะตามแผนการรักษา
ผ่าตัดเอา หนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
วินิจฉัย 5ใน6
ปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic
ตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
T>38.3
โรคกระดูกอ่อน(Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคลำไส้
รับประทานอาหารที่ขัดขวางการดูดวิตามินดี
ภาวะ ฟอตเฟตต่ำ จากการขาด alkaline phosphatase
เกิดจากการขาดวิตามินดี
อาการ
อ่อนแรง
กล้ามเนื้อย่น
หลังแอ่น
การรักษา
หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
แก้ที่เหตุ
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
สาเหตุ
พันธุกรรม
พันธุกรรม
กก.โรคสมองและไขสันหลัง
อาการ
ปวดฝ่าเท้า
รุนแรงจะปวดน่องด้วย
รักษา
พบแพทย์
ใส่รองเท้าที่พอดี
ใส่แผ่นรองเสริม
Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ปอดโดยการหายใจ และแพร่กระจายผ่านทาง Lympho-hematogenous
อาการ
ต่อมน้ำเหลืองโต
กระดูกถูกทำลาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ตรวจวินิจฉัย
CBC
Plaint film
MRI
รักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด
Gastroschisis (ผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน)
เกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังหน้าท้อง หลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้วเกิดการแตกทะลุของ hernia of umbilical cord
วินิจฉัย
หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆมองเห็นขดลำไส้หรือตับผ่านผนังถุง
มีส่วนของถุงที่บรรจุ wharton"sjelly สายสะดือกับตัวถุง
Omphalocele
สร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์
การรักษา
conservative
operative
ข้ออักเสบติดชื้อ
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
อาการ
ปวดบวมแดง
มีการอักเสบ
มีไข้
ตรวจlab
เจาะดูดน้ำในข้อ
CBC
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวะ
การผ่าตัด
มะเร็งกระดูก
อาการ
ปวดบริเวณที่ก้อนเนื้อ
น้ำหนักลด มีไข้
เคลื่อนที่ผิดปกติ
การรักษา
การผ่าตัด
รังสีรักษา
เคมีบำบัด
วินิจฉัย
ซักประวัติ
อาการปวด
ระยะเวลาที่มีเนื้องอก
ตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตน.ก้อน
ต่อมน้ำเหลือง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI
CT
Club foot (เท้าปุก)
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
positional clubfoot
teratologoc clubfoot
neuromuscular clubfoot
ไม่ทราบสาเหตุ
พบตั้งแต่กำเนิด
วินิจฉัย
เท้าจิกลง บิดเอียงด้านใน
การรักษา
ผ่าตัด
ดัดใส่เฝือก
cerebral palsy
ความพิการทางสมอง ทำให้เคลื่อนไหวผิดปกติ
สาเหตุ
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ
อุบัติเหตุ
ระหว่างคลอด + หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
คลอดก่อนกำหนด
ประเภท
spastic CP
Ataxic CP
Athetoid CP
Mixed CP
รักษา
กายภาพบำบัด
ยาลดความเกร็ง
กำลังใจ
ผ่าตัด
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ภาวะชักและโรคลมชัก
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ไข้
ติดเชื้อ
ประวัติในครอบครัว
วัคซัน
โรคประจำตัว
การชักและระยะเวลาชัก
ประเมินสภาพร่างกาย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจพิเสา
โรคลมชัก(Epilepsy)
ชักซ้ำ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป ครั้งที่2 ห่างกัน 24 hr. ไม่มีปัจจัยกระตุ้น
มีอาการผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ พฤติกรรมผิดปกติ ความรูสึกตัวลดลง
อาการและอาการแสดง
Preictal period ระยะก่อนการชัก
นำก่อนชัก
ระหว่างเกิดไม่มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
ไม่เฉพาะเจาะจง
Lctal event หรือ Peri-ictal period
เกิดการชัก เวลาจากวินาทีถึงนาที ไม่เกินครึ่งชั่วโมง
เกิดทันทีทันใด
Interictal peroid
ช่วงเวลาระหว่างการชัก
ไม่มีอาการแสดงใดๆ พบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
Postictal period
ชักสิ้นสุดลง มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นสมองไฟฟ้า
อาการ
สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Postical paralysis หรือ Todd's paralysis
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism
เคลื่อนไหวอัตโนมัติขณะชัก
การเคลื่อนไหวพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อไม่มีจุดประสงค์แต่เลียนแบบท่าทางปกติ
สาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันตรายที่ศีรษะ
ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
น้ำตาลในเลือดต่ำ
โรคพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile Seizure)
ปัจจัยเสี่ยง
ไข้ร่วมกับการติดเชื้อ
อายุ ครั้งแรกอายุก่อน 1 ปี
ความผิดปกติของระบบประสาทก่อนชัก
ประวัติการชักในครอบครัว
การชักสัมพันธ์กับไข้ ไม่เกิดการติดเชื้อในสมอง หรือความผิดปกติทางเกลือแร่ของร่างกาย
พยาธิสภาพ
ไม่แน่ชัด แต่อาจเกิดจากการติดเชื้อ viral หรือ bacterial
อาการและอาการแสดง
ไข้ สูงกกว่า 39องศาเซลเวียส
ชนิดการชัก
Simple fibrile seizure
ไข้+ชัก
ก่อน-หลังชัก ไม่มีอาการทางระบบประสาท
ชักแบบทั้งตัว (generalized seizure) ไม่เกิน 15 นาที
Complex febrile seizure
การชักแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว (Local or generalized seizure)
ชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียว
หลังชักมีความผิดปกติของระบบประสาท
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
การรักษา IICP
รักษาเบื้องต้น กรณีสูงเฉียบพลัน
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
เปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทใส่ท่อหลอดลมคอ และช่วยหายใจ
จัดท่านอนราบ 15-30 องศา ช่วยการไหลเวียนน้ำไขสันหลัง
รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด
เนื้องอก
การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
รักษาความผิดปกติเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือเกิดร่วม
Hydrocephalus
ภาวะสมองบวม
ภาวะน้ำคั่งในกระโหลกศีรษะ(Hydrocephalus)
อาการสำคัญ คือศีรษะโตตั้งแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีราะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
ความผิดปกติ
congenital Hydroceohalus ความผิดปกติของการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูด
การรักษา
การรักษาด้วยยาขับปัสสาวะ
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในดพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
สายระบายในโพรงสมอง
สายระบายจากโพรงสมอง
สายระบายลงช่องท้อง
วาล์วและส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
โพรงสมองลงช่องท้อง
โพรงสมองลงหัวใจ
โพรงสมองลงช่องปอด
โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงน้ำคร่ำ
อาการทางคลินิก
หัวบาตร (Cranium enlargement)
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับ growth curve ปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีราะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้ เนื่องจากมีการกดบริเวณ Mid brain ที่ Superior colliculus
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจาก CN6 TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน
รีเฟลกซ์ไวเกิน
การหายใจผิดปกติ
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ,ปัญญาอ่อน
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
spinal Bifida
การรักษา
spinal bifida occulta
ไม่ต้องรักษา
spinal bifida cystica
ต้องผ่าตัดใน 24-48 hr.
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
บกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
ชนิด
spinal bifida cystica
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
Meningocele
spinal bifida occulta
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่ดต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า ประวัติสมองขาด ออกซิเจน
ชนิด
Mixed type
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Extrapyramidol cerebral palsy
Ataxia cerebral palsy
เป้าหมายการพยาบาล
ระบบหายใจ ทำทางเดินหายใจให้โล่ง
แรงดันภายในสมอง ไม่ต้องเพิ่มขึ้น
การดูแลขั้นพื้นฐาน มีคุณภาพ
ภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว
ให้ความรู้และคำแนะนำ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
congenital spina bifida occulta meningocele meningomyelocele
ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง
ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
มีก้อนที่หลัง หรือหน้าผาก
Poliomyelitis
เป็นชนต่างด้าว
ไข้ร่วมกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไม่ได้วัคซีน ไม่คลอดรพ.
การพยาบาลเด็กที่กระดูกหัก
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกโดยตรง
พยาธิสภาพของโรคที่
มะเร็งของกระดูก
กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
ปวด+กดเจ็บ
บวมเนื่องจากเลือดออก
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
ตรวจทางรังสี
การรักษา
หลักการ
ไม่ให้บาดเจ็บเพิ่ม
แก้ปัญหาตามพยากรณ์โรค
เป้าหมายรักษา
ระยะแรก ลดความปวด
จัดกระดุกให้เข้าที่
ให้กระดุกเข้าที่ ติดเร็ว
ให้อวัยวะกลับเข้าเร็วที่สุด
แนวทางรักษา+ติดตามผลรักษา
ลักษณะกระดูกหัก
ลักษณะข้อเคลื่อน
อุบัติเหตุที่เกิด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้า
อาการ
ปวด บวม แดง
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนดีประคองที่เจ็บ
กระดูกต้นแขน
กระดูกข้อศอก
อาจจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก
กระดูกปลายแขน
กระดุกต้นขา
ปวดข้างที่หัก บวมตำแหน่งกระดูก
การเคลื่อนที่ของเรเดียส
การเคลื่อนหลุดออกจากข้อ radio-humeral
ภยันตรายต่อข่ายประสาทจากการคลอด
สาเหตุ
ข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
การสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อย
การรักษา
ฟื้นตัวของเส้นประสาท
การพยาบาล
ป้องกันเนื้อเยื่อรอบๆกระดูกบาดเจ็บเพิ่มจากการทิ่มแทงของกระดูก
1.ประเมินลักษณะบาดเจ็บ
2.เคลื่อนย้ายด้วยความระวัง
3.จัดกระดูกตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก
ผ่าตัด ORIF
ก่อนผ่าตัด
ร่างกาย
5 more items...
ด้านจิตใจ
3 more items...
หลังผ่าตัด
ประเมินความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
1 more item...
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกันข้อติดแข็งกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันแผลกดทับ
เปลี่ยนท่าเหมาะกับเด็กอย่างน้อย 2 hr.
ลดการท้องผูก
เคลื่อนไหว อาหารกาก ดื่มน้ำให้พอ
ช่วยให้ปอดขยาย
กระตุ้นหายใจลึกๆๆ
ประเมินอาการ+อาการแสดง
บ่งชี้การเกิดภาวะแทรกซ้อน
กระตุ้นเด็กออกกำลังกล้ามเนื้อ
ป้องกันติดเชื้อเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการที่บ่งบอกว่าติดเชื้อ
ดูแลได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลอาหารที่เสริมสร้างเนื้อเยื่อ
ลดความวิตกกังวลเมื่อรักษาโรงพยาบาล
ประเมินสภาพด้านจิตใจและญาติ
สร้างความมั่นใจ+ความรู้สึกที่ดี
จัดกิจกรรมให้ระบาย
ให้ยาแก้ปวดตามแผน
บรรเทาปวด
คำแนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน
ภาวะแทรกซ้อน
Volkman"ischemic contracture
โรค
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
คลำพบก้อนกล้ามเนื้อข้างคอที่เอียง
รักษา
ดัด/อุปกรณ์ช่วย
ผ่าตัด
polydactyly
Syndactyly
กระดูกสันหลังคด