Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาว เนหา สุกูล เลขมี่61…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความหมายด้านสุขภาพ
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง เป็น สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ เช่น การทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ และทางเพศ
สิทธิในด้านพัฒนาการ เด็ก ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีชีวิต คือ สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม เป็นสิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก ทำหน้าที่ดำเนินการและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องการสงเคราะห์คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็ก
การปกป้องคุ้มครองเด็ก หน้าที่ของผู้ปกครองและบุคคลผู้เกี่ยวข้องให้ต้องปฏิบัติต่อเด็กที่เหมาะสมไว้อย่างชัดเจน และผู้ฝ่าฝืนย่อมมีโทษทั้งทางปกครองและทางอาญา
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การปรับตัวของเด็กและครอบครัวของเด็กจะได้มากน้อยเพียงใดขึ้นกับ
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic) เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด
ระยะวิกฤต (Crisis) เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
ระยะเฉียบพลัน (Acute) ฉับพลัน
ระยะสุดท้าย (Death / Dying) เป็นระยะที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย ไม่มีความหมายอายุ > 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ไม่ควรปล่อยให้เด็กเผชิญความตายเพียงลำพัง
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ
การพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความตายในเด็กวัยอนุบาล เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)
เด็กที่เคยเผชิญการตายของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ใหญ่ เข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยเรียน
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
สนใจพิธีการในงานศพ
เข้าใจความหมายของความตาย
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
มองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
พ่อแม่ หรือผู้ดูแล ควรให้ความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการแม้ว่าเด็กไม่ได้ร้องขอ โดยเฉพาะในช่วงลมหายใจสุดท้ายที่ใกล้จะมาถึง
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยเดิน ทำให้ต้องพรากจากบิดามารดาซ้ำแล้วซ้ำอีก เหตุผล อาจทำให้เด็กคิดว่าบิดามารดาทอดทิ้งเขาไปได้ อาจถูกปกป้องหรือระมัดระวังมากเกินไป ถูกบังคับให้พึ่งบิดามารดา จะทำให้รู้สึกหวาดกลัวหรือไม่ยอมอยู่ในอำนาจและไม่สามารถริเริ่มทำอะไรได้ด้วยตนเอง
วัยก่อนเรียน มีความยากลำบากในการเรียนรู้ และการที่เด็กมารับการตรวจ การรักษาและต้องอยู่ในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง เด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษ
วัยเรียน ทำให้หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา และการที่จะทำอะไรได้เช่นเดียวกับเพื่อนกลุ่มเดียวกัน ทำให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยทารก การเจ็บป่วยทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก เช่น กินได้น้อยลง เด็กจะขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา อาจส่งต่อพัฒนาการของเด็กได้
วัยรุ่น ผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสีย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
ความสามารถในการควบคุม (loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความตาย
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation anxiety
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
Preparing Infants
Stressors
Seeing strange sights, sounds, smells
New, different routines
Having many different caregivers
Interrupted sleep
Separation from parents
Keep routines
Bring favorite security item
Let nursing staff know about baby’s schedule
Parents remain calm
Be patient with infant
Distract, rock, comfort
Preparing Toddlers
Stressors
Being left alone
Having to stay in strange bed/room
Read books about going to hospital
Interactive play with dolls
Simple explanations
Tell the truth
Stay with child during hospitalization
Preparing School Age
Stressors
Take tour
Make sure child knows why is having surgery in words they understand
Have child explain back their understanding
Read books
Give as many choices as possible
Explain benefits of surgery
Encourage child’s friends to visit
Have someone stay with child as much as possible
Preparing Teenager
Stressors
Allow teen to be part of decision making process
Read books
Ask friends to visit/send cards
Journal
Bring comfort/game items from home
Be patient with mood swings – allow them to be alone if needed
Let them know it’s acceptable to cry/be afraid
Honor privacy requests
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบ
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
การตระหนักและการเคารพ (Respect) ในความแตกต่าง
หลักการ
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพ
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง และไม่ลำเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสม
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการของบุคคลและ ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของ ครอบครัว
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และ ตอบสนองความต้องการของครอบครัว
แนวทางการดูแลด้านจิตสังคม
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสม
ป้องกันและลดผลกระทบจากการแยกจาก
แนะนำให้บิดา มารดา ผู้ดูแลอยู่เฝ้า
หาสิ่งที่คุ้นเคยมาให้เด็ก
ยอมรับพฤติกรรมของเด็ก
ให้เด็กได้ระบายความเครียด
ดูแลให้เด็กได้รับความสุขสบายทั่วไป
การเตรียมเด็กและครอบครัวก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ลดผลกระทบของปฎิกิริยาการสูญเสียการควบคุม
ให้เด็กทำกิจวัตรปรำวันได้ตามปกติ
ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง
ส่งเสริมให้เด็กเคลื่อนไหวโดยอิสระ
ส่งเสริมให้เด็กมีความเจ้าใจที่ถูกต้องต่อการรักษาพยาบาล
ประโยชน์ของการเล่นต่อผู้ป่วยเด็ก
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
ผ่อนคลายความตึงเครียด
ส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพร่างกาย
ช่วยส่งเสริมการปรับตัวของเด็ก
Pain assessment
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด :เจ็บตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ความรุนแรงของความปวด
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
4 = ไม่ปวด
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability Scale)
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
Faces scale
CRIES Pain Scale
Numeric rating scales
การประเมินความปวดตามวัย (อายุ, รายงานด้วยตนเอง, พฤติกรรม, สรีรวิทยา)
หลักการประเมินความปวด
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
ประเมินก่อนให้การพยาบาล หลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคําถามนําอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม เพื่อเป็นข้อมูล
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด ถ้าเป็นเด็กเล็กอาจถามจากบิดา มารดา หรือสังเกต
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคําบอกเล่าของผู้ป่วย
พฤติกรรมและผลกระทบที่เกิดจากความปวด
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คําพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
นางสาว เนหา สุกูล เลขมี่61 รุ่น 36/1 612001062
อ้างอิง
วิภารัตน์ ยมดิษฐ์.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
.