Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มี ปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติ …
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มี ปัญหาเกี่ยวกับความผิดปกติ ของระบบทางเดินหายใจ
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma)
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
1.สารก่อภูมิแพ้
1.1ภายในอาคาร ได้แก่ ไรฝุ่น แมลงสาบ
1.2ภายนอกอาคาร ได้แก่ เกสรหญ้า วัชพืช
2.สารระคายเคือง ได้แก่ น้ำหอม กลิ่น สี
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย
วินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
อาจไม่พบความผิดปกติขณะไม่มีอาการ
2.ขณะมีอาการจะพบอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ หรือหอบได้ยินสียงหวีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด
การวัดค่าความผันผวนของ PEF
เป้าหมายของการรักษา
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ จากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
How to achieve Goal of Asthma treatment
1.ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
2.แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ก่อให้เกิดอาการหอบหืด
3.ประเมินระดับความรุนแรงและประเมินผลการควบคุมโรคหืด
4.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
5.ดูแลรักษาในขณะมีอาการหอบหืดกำเริบเฉียบพลัน (asthma exacerbation)
6.ดูแลรักษาผู้ป่วยโรคหืดในกรณีพิเศษ
Asthma
Asthma medications
Asthma Controllers
Asthma Relievers
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
อาจเกิดจาก 2 โรค
1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
โรคถุงลมโป่งพอง
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
วินิจฉัย
มีเสมหะในหลอดลม
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีการทำลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
Lung cancer
Adrenocarcinoma
Squamous cell carcinoma
Large cell carcinoma
Small cell carcinoma
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ
สังเกตอาการ cyanosis วัด O2 saturation Keep > 92% ทุก 1 ชั่วโมงและ Monitor EKG
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา (Fowler’s position)
ดูแลให้ออกซิเจน 1 – 3 ลิตรต่อนาที (24 – 32%)
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา Berodual MDI ทุก 4 ชั่วโมงหรือให้ยารับประทาน
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้ ตามแผนการรักษาและเช็ดตัวลดไข้ เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
2.เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ
เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว
กิจกรรมการพยาบาล
1ทำความสะอาดปากและฟัน ลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยขณะรับประทานอาหาร เพราะอาจทำให้ความสนใจของผู้ป่วยลดลง
.
2.ประเมินความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับต่อวันเพื่อวางแผนการให้สารน้ำ
3.ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ
4.ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพผู้ป่วยและให้นอนพัก
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการออกกำลังกาย การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องร่วมกับการห่อปาก (Purse lip)
ดูแลการได้รับยาขยายหลอดลม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
4.อาจเกิดอาการกลับซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น เพื่อให้ทราบถึงการดำเนินของโรค สาเหตุการรักษาและภาวะแทรกซ้อน
สอนวิธีการพ่นยา
Bronchitis
สาเหตุ
สูบบุหรี่
ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
Emphysema
สาเหตุ
สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
โรคปอดอักเสบ
กระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทำให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด
สาเหตุ
1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคปอดอักเสบ
1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ประเภทของโรคปอดอักเสบ
Hospital–acquired peumonia (HAP)
Ventilator associated peumonia (VAP)
Community–acquired peumonia (CAP)
Healthcare associated peumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºC) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง
ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
ปอดอาจเคาะทึบ เสียงหายใจค่อย มีเสียงกรอบแกรบ
พยาธิสภาพของโรคปอดอักเสบ
พยาธิสภาพ 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
การรักษาโรคปอดอักเสบ
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
โรคแทรกซ้อนของปอดอักเสบ
1.ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะ อื่นๆ ได้แก่ ไต เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง ข้ออักเสบ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
Pulmonary embolism
ภาวะที่ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดในปอด
สาเหตุ
1.Venous stasis
Vessel injury
Hypercoagulability
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space