Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
เด็ก
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
สิทธิ
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
ได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในการมีส่วนร่วม
การแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำ
มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตนเองแสดงความคิดม่กระทบสิทธิผู้อื่น
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสม
ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
ระยะการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
รักษาไม่หายขาด
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
มีโอกาสเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ทันทีทันใดเฉียบพลัน
ระยะสุดท้าย(Death)
วินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0
ตอบแบบไม่เข้าใจ
ก่อนขั้นปฎิกิริยา(18 เดือน-7ปี)
ประเภท 1
ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภท 2
สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุหรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภท3
การปนเปื้อน
ประเภท4
ภายในร่างกาย
ปฏิบัติการด้วยนามธรรม(11-12ปี)
ประเภท5
ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดีหรือไม่ทำงาน
ประเภท6
เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขั้นสูงสุด
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ผลกระทบของความเจ็บป่วย
วัยทารก
รู้สึกไม่สุขสบาย
ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
วัยเดิน
พรากจากพ่อแม่คิดว่าถูกทอดทิ้ง
พ่อแม่ระมัดระวังเกิน
ทำอะไรด้วยตัวเองไม่ได้
หวาดกลัวหรือไม่อยู่ในอำนาจ
วัยก่อนเรียน
ยากลำบากในการเรียนรู้
คิดว่าการเจ็บป่วยอยู่โรงพยาบาลเป็นการลงโทษ
วัยเรียน
หย่อนความสามารถในการเรียน ทำกิจกรรม
สูญเสียการนับถือตนเอง
วัยรุ่น
กระทบต่อ
ความเชื่อมั่นในตัวเอง
ภาพลักษณ์
บุคลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
ระยะประท้วง
ร้องไห้รุนแรงตลอดเวลาหยุดร้องเวลานอน
พยายามให้มารดาอยู่ด้วย
ปฏิเสธทุกอย่าง
ระยะสิ้นหวัง
อาการโศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ้ง
แยกตัวอยู่เงียบๆ
มีพฤติกรรมถดถอย
ยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวด
จะมีาอาการเมื่อมารดามาเยี่ยม
ระยะปฎิเสธ
เก็บกดความรู้สึก
ไม่กล้าเสี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดา
ความเจ็บปวดทางกายจากการตรวจรักษา
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความตาย
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ปฏิเสธ ไม่เชื่อ ในระยะแรก
โกรธและโทษตัวเอง เมื่อเด็กป่วยจริง
กลัว วิตกกังวล สัมพันธ์กับความรุนแรงโรคของเด็ก
หงุดหงิด คับข้องใจ ขาดอำนาจต่อรอง
เศร้า
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุน้อยกว่า 6 เดือน
ไม่เข้าใจความหมาย
อายุมากกว่า6เดือน
ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู
รู้สึกแยกจาก
มีปฏิกิริยา physiological reflex
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ
วัยเรียน
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง
จินตนาการเรื่องความตาย
เรียนรู้
มีชีวิต
เติบโต
ตายจากไป
เข้าใจเรื่องโรค
การวินิจฉัย
การพยากรณ์โรค
กลัวการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
มีความเป็นส่วนตัว
มองความตายเป็นเรื่องไกลตัว
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
หลักการดูแล
เคารพและตระหนัก ครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
ช่วยเหลือครอบครอบในการตัดสินใจ
สนับสนุนครอบครัวดูแลเด็ก
ร่วมกับครอบครัวหาทางเลือกในการดูแล
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างพ่อแม่กับทีมแพทย์
การสื่อสาร
ดี
เปิดเผย
ต่อเนื่อง
ให้เกียรติและไว้วางใจกัน
เข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวัง
วางแผนการดูแลรักษา ตัดสินใจร่วมกัน
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์ ไม่ลำเอียง
อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์
ให้ข้อมูลทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลการพยาบาล
ตอบข้อสงสัย
เข้าใจและผสานตามความต้องการตามระยะพัฒนาการ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหา
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็งและลักษณะเฉพาะ เคารพวิธีหารแก้ปัญหาที่แตกต่างกัน
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติ ค่านิยม ความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้ และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
Pain assessment
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability Scale)
CRIES Pain Scale
Faces scale
Numeric rating scales
หลักการประเมินความปวด
ประเมิน
ก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน
หลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
เด็กเล็ก ไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
Infants
Stressors
Seeing strange sights, sounds, smells
New, different routines
Having many different caregivers
Interrupted sleep
Separation from parents
Preparing
Let nursing staff know about baby’s schedule
Parents remain calm
Bring favorite security item
Be patient with infant
Keep routines
Toddlers/Preschoolers
Stressors
Loss of comforts of home, family
Being in contact with unfamiliar people
Having to stay in strange bed/room
Painful procedures
Being left alone
Preparing
Stay with child during hospitalization
Establish “procedure free zones”
Interactive play with dolls
Read books about going to hospital
School Age
Preparing
Give as many choices as possible
Encourage child’s friends to visit
Read books
Have someone stay with child as much as possible
Have child explain back their understanding
Take tour
Stressors
Pain
Needles/shots
Loss of control
Dying during surgery
Being away from school/friends
Teenager
Preparing
Ask friends to visit/send cards
Journal
Read books
Bring comfort/game items from home
Allow teen to be part of decision making process
Let them know it’s acceptable to cry/be afraid
Honor privacy requests
Stressors
Pain
Dying during surgery
Fear of surgery and risks
Fear of the unknown
Being away from school/friends
Loss of control
นางสาวพัชราภรณ์ ถิ่นชุมทอง เลขที่ รุ่น 36/2 รหัสนักศึกษา 612001084