Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน
อาการและอาการแสดง
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมีองค์ประกอบส้าคัญ
แคลเซี่ยม
เซลล์สร้างกระดูก ( osteoclast )
callus
เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ ( biological glue )
คอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber)
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูกหลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก ดูว่ามีแผลหรือไม่มี
ลักษณะของข้อเคลื่อนออก
การตรวจพบทางรังสี
การซักประวัติ: เกี่ยวกับการเกิดอุบัติเหตุ
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับท างานได้เร็วที่สุด
กระดูกที่พบบ่อย
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
กระดูกปลายแขนหัก
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่
จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด
ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้
ข้อศอกงอ 90 องศา นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
การพยาบาล
3. การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก
เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อ
เกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่ง
แปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
4. .การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
3.จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติ
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติ
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก
การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ
เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ าให้เพียงพอ
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิด
ภาวะแทรกซ้อนต่าง
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็ก
หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก
ข้อเข่า ควรคลาย
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้าง
นอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
1. การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3. จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือก
ภายใน 24 ชั่วโมง
ซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
2.4 Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
2.5 Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
2.6 Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
2.3 Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
2.2 Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
2.1 Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
ดึงกระดูก( traction)
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb เป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture
Skin traction ใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ปี น้ำหนักไม่เกิน 13 Kg.
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur
[ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF ) เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ คล้า
ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้ า แปรงฟัน
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม
2. ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณา
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก แล้วรีบรายงานแพทย์
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA
6.การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อ
กลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
รักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลัง
กายกล้ามเนื้อและข้อ
กระดูก
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
4.ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
5.การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือ
ข้อเคลื่อนแต่หายเร็วกว่า
3.เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
6.การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)
2.เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
7.การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อน
1.แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้ม
ต้าแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือ
กระดูกแขนท่อนปลาย
กระดูกต้นแขนหัก
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’s ischemic contracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหีือมีเลือดไปเลี้ยงน้อยยเนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำถูกกด
ระยะของการเกิด Volkmann’s ischemic contracture
ระยะที่มีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ
ผิวหนังพองเนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว
ระยะเริ่มเป็น
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจมีสีคล้ำ
ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือคลำไม่ได้
บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บ และปวด
มีอาการชา
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้
วิธีป้องกัน
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าธรรมดา
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่เข้าเฝือก อยากงอมากแค่ไหน ควรใช้การจับชีพจรเป็นหลัก
จัดกระดูให้เข้าที่เร็วที่สุด
**แนะนำผู้ป่วยปฏิบัติตัวให้ถูกต้องหลังเข้าเฝือก
ถ้ามีอาการบวมมาก และมีอาการเจ็บปวด แสดงวาเฝือดรัดเส้นโลหิต ทำให้เลือดเดินไม่สะดวก ให้รีบรายงานแพทย์
ถ้าเกิดอาการปวด บวม หรือชา จะต้องรีบปรึกษาแพทย์เพื่อตัดเฝือกออกทันที
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจอยู่ตลอดเวลา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะของศีรษะที่เอียงไปจากแนวกึ่งกลาง ไปทางด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้องอ
อาการ
คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอที่เอียง
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย การซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อแล้วไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ให้รักษาโยการผ่าตัด
การยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่สั้น
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
Polydactyly
สาเหตุ
พันธุกรรม
การรักษา
ผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
Polydactyly preaxial เป็น hallux varus ซึ่งอาจ
ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกับการสวมใส่รองเท้า,การรับรองการแก้ไขศัลยกรรมที่ตามมา
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
พยาธิสภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากันท้าให้ตัวเอียงและหลังคด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ข้อมูลความพิการของกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกาย : การสังเกตความพิการหลัง แนวล าตัว ความสูง น้ าหนักตัว ความกว้างของแขน ท่านั่ง ท่ายืน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น : X-Ray ท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดูกก้นกบ
อาการและอาการแสดง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ผ่าตัด
คือการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว (Brace) ในเด็กอายุน้อย
กว่า 11-12 ขวบ ที่มีมุม ประมาณ 25-40 องศา
2.การรักษาแบบผ่าตัด
การจัดกระดูกสันหลังโดยการใช้โลหะดามกระดูกสันหลัง จัดกระดูกสันหลังให้เข้าที่และ เชื่อมข้อกระดูกสันหลังให้ตรง
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กหลังคด
แนะน าการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
2.ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดย สังเกตและประเมินความปวด
3.ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและบริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว คือ ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัวโดยมีเสื้อรองก่อนเพื่อป้องกันการกดทับผิวหนัง