Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวกชกร ธนกรกิจสกุล…
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์ สาเหตุของความเจ็บป่วยเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ
ประเภทที่ 2 : สาเหตุของความเจ็บป่วยเกิดจากการติดต่อ สัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน สามารถบอกถึงสาเหตุของความเจ็บป่วย
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย ความเจ็บป่วยเกิดขึ้นภายในร่างกาย แต่ยังอธิบายไม่เฉพาะเจาะจง
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความตายของเด็ก
วัยแรกเกิดและวัยทารก
ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับความตาย เข้าใจเพียงว่าคนๆนั้นหายไป
เด็กจะมีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของปฏิกิริยาสะท้อน (physiological reflex) เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง
วัยอนุบาลหรือวัยก่อนเรียน
เข้าใจว่าความตายเกิดขึ้นชั่วคราว (temporary) สามารถกลับฟื้นคืนได้ (reversible)
การพัฒนาความเข้าใจ เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
เข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์ โดยเฉพาะเด็กที่เคยเผชิญการตายของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ใหญ่
วัยเรียน เริ่มเข้าใจว่าความตายเป็นสภาวะที่ร่างกายหยุดทำงานอย่างสมบูรณ์ ไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้
วัยรุ่น
เข้าใจในเรื่องของความตายใกล้เคียงกับผู้ใหญ่ คือ เป็นภาวะสิ้นสุดของการทำงานของร่างกาย ไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้
เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ และทุกคนต้องเผชิญ
การตายสำหรับวัยรุ่น จึงเหมือนการลงโทษ การถูกกำหนดให้เป็นไปทั้งที่ตนเองไม่ต้องการ
ปฏิกิริยาของเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
(separation anxiety)
วัยทารก
ระยะประท้วง (protest)
ระยะสิ้นหวัง(despair)
ระยะปฏิเสธ(denial)
วัยเรียน เด็กวัยนี้จะเผชิญความเครียดได้ดีกว่าเด็กเล็ก
วัยรุ่น พัฒนากลไกในการปรับตัวต่อภาวะเครียดได้ดีกว่าเด็กวัยอื่นๆ
พฤติกรรมถดถอย(regression)
เด็กจะหยุดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ หันกลับมาใช้พฤติกรรมดั้งเดิม
เด็กวัยก่อนเรียน ทำให้เด็กขาดความมั่นคงในตัวเอง เด็กจะไม่ร่วมมือในการรักษาพยาบาล และต่อต้าน
วัยเรียน สามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยอิสระ ความกลัว คือภาวะที่คุกคามการสูญเสียการควบคุม
วัยรุ่นจะมีความเป็นอิสระ เอาแต่ใจตัวเอง จะมีความเจ็บป่วยที่จำกัดความสามารถทางร่างกาย
การบาดเจ็บและความเจ็บปวด
เด็กวัยก่อนเรียน สามารถพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เจ็บปวด เด็กจึงมีปฏิกิริยาโต้ตอบที่รุนแรงและมองการปฏิบัติต่าง ๆ เป็นการลงโทษ
เมื่ออายุครบ 4 ขวบ เด็กจะสามารถควบคุมตัวเองได้ขณะเจ็บปวด ไวต่อสิ่งที่มาคุกคามความสมบูรณ์ของร่างกาย
เด็กวัยเรียนกลัวการบาดเจ็บ กลัวความตาย เด็กสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของเหตุผล ต้องการคำอธิบายที่เป็นวิทยาศาสตร์ในการอธิบายเกี่ยวกับโรค
วัยรุ่น การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้วัยรุ่นแตกต่างจากเพื่อนนั้นทำให้เกิดความเครียดอย่างมาก
การปรับตัวของวัยรุ่นเมื่ออยู่ในโรงพยาบาล
ปรับตัวโดยการเข้าหาผู้อื่น
ปรับตัวโดยการต่อสู้และต่อต้าน
ปรับตัวโดยการถอยหนีจากคนอื่น
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาล
องค์ประกอบที่สำคัญของการดูแลเด็ก
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการ
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหา
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ สังคม เศรษฐกิจ
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น เข้าถึงได้
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจ
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ และทรัพยากร
พยาบาลสร้างกลไกความสัมพันธ์กับบิดามารดาเป็นแบบหุ้นส่วน
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนและการดำเนินการ
การจัดสิ่งแวดล้อม (environment)
การอำนวยความสะดวก (facilitative)
การประสานงาน (coordination)
การสื่อสาร (communication)
การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
การประเมินผล
สิทธิเด็ก
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีส่วนร่วม
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
นางสาวกชกร ธนกรกิจสกุล เลขที่ 3 36/1 รหัส 612001003