Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะที่ศีราะเอียงจากเเนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่ง สามารถสังเกตเห็้ได้แต่อายุยังน้อย จากการที่เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลงไป
ปล่อยไว้นานจะทำให้ศีรษะเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย : ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth) เช่น การให้นม
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
การผ่าตัด
เหมาะกับอายุ 1-4 ปีจะได้ผลดี โดยการผ่าตัดbipolar release หลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณพยุงคอและต้องยืดกกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรง
polydactyly
สาเหตุ
พันธุกรรม
การรักษา
ผ่าตัด
เพื่อป้องกันความผิดปกติจากการพัฒนาเป็นเด็กเติบโตขึ้น
โดยทั่วไปไม่เป็นอันตรายโดยการผ่าตัดจะทำในสองสามปีแรกของชีวิตที่จะให้เด็กมีความสามารถที่สุดในการปรับตัว
ภาวะแทรกซ้อน
เป็น hallux varus ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกับการสวมใส่รองเท้า
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านนข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้องกระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่าง
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้า
ให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง
รายที่กระดูกสันหลังคดไม่ทราบสาเหตุ หลังจะคดมากขึ้นเรื่อย ๆ
กระดูกสันหลังแอ่นไปด้านหน้า ท้าให้เกิดการเสื่อมของข้อด้านโค้งเว้า บางรายอาจมีข้อติด
รายที่หลังคดรุนแรง ทำให้ทรวงอกผิดปกติกระทบต่อการทำงานของหัวใจและปอด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการ
ตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษ : X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก
จะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ระยะห่างของเอวและแขนไม่เท่ากัน
ปวดเมื่อหลังคดมาก
ยิ่งอายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation) กายภาพบำบัด
การผ่าตัด เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด(Scoliosis)
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรค
บอกผู้ป่วยต้องนอนในหออภิบาลหลังผ่าตัด
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัดโดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน
แนะนำให้รายงานอาการผิดปกติต่างๆที่อาจเกิดหลังผ่าตัด
สอนและสาธิตวิธีการไอ หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำการใช้หม้อนอน
บอกผู้ป่วยให้ทราบวิธีการเตรียมความสะอาดร่างกายทั่วไป
อธิบายให้ทราบว่าหลังผ่าตัดต้องนอนบนเตียงประมาณ 2 สัปดาห์
ให้ผู้ป่วยคุ้นเคยกับเฝือกปูนและการดึงถ่วงน้ าหนัก
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดยสังเกต
และประเมินความปวด
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว
Kyphosis
Lordosis
โรคกระดูกอ่อน
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน –3 ปี จากการขาดวิตามินดี ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิด
ภาวะฟอสเฟตต่ำ(Hypophosphatasia)
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า กะโหลกนิ่ม หลังหนึึ่งขวบจะพบขาโก่ง
การรักษา
แบบประคับประคอง
รักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
ป้องกัน : ให้ร่างกายรับแสงเช้าเย็น การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัว เลี่ยงการใช้ยาที่ขัดกรดูดซึม
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
สาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
การวินิจฉัย
ประวัติ มีอาการปวด ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR, CRPสูง
การตรวจทางรังสี Plain flim,Bone scan,MRI (Magnatic resonance imaging),bone marrow edema
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อตาย มีการโก่งของกระดูกอาจต่้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ(septic arthritis)
สาเหตุ เชื้อเข้าสู่ข้อเช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อผล CBC
พบ ESR , CRP สูุง
การตรวจทางรังสี Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง Ultrasound มีน้ำในข้อ Bone scan / MRI
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด Arthrotomy and drainage
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis วัณโรคกระดูกและข้อ
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis ่เข้าสู่ปอดโดยการหายใจจากการไอจาม
พบบ่อยที่ ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
อาการและอาการแสดง
กระดูกจะบางลง มีลักษณะโพรงหนองม่มการอักเสบหรือแตกเข้าสู่โรคใกล้เคียง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก ทีขาจะปวดขา จะปวดหลัง หลังแข็งเดิน กล้ามเนื้ออ่อนแรง หลังแข็งเดินแอ่น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี plaint film, MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค , ผ่าตัดชิ้เนื้อ ระบายหนองออก
Club Foot (เท้าปุก)
ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) เท้าจิกลง(equinus)
สาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot
ขนาดใกล้เคียงเท้าปกติ
teratologoc clubfoot
neuromuscular clubfoot
ไม่ทราบสาเหตุ(ideopathic clubfoot)
(ITCEV) พบตั้งแต่กำเนิด
ไม่สามารถให้ได้เอง
การรักษา
การดัดและใส่เฝือก ได้ผลกรณีไม่แแข็งมาก
การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release)
ผ่าตัดกระดูก(osteotomy)
ผ่าเชื่อมข้อกระดูก(triple fusion)
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
อาการ
ขึ้นกับความรุนแรงของการแบนราบ
อาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่ วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
รายที่รุนแรงอาจจะปวดขา น่อง สะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรมในครอบครัว
การเดินที่ผิดปกติ
เอ็นข้อเท้าฉีกขาด
โรคสมองและไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy ความพิการทางสมอง
สาเหตุ
ก่อนคลอด อาจติดเชื้อ, มารดามีภภาวแทรกซ้อนขระตั้งครรภ์ , อุบัติเหตุ
ระหว่างคลอด /หลังคลอด คลอดยาก,สมองกระทบกระเทือน,ขาด
ออกซิเจน
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหว
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
Hemiplegia
Double hemiplegia
quadriplegia
Diplegia
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
4.Mixed CP เป็ นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม
การรักษา
ป้องกันการผิดรูป
กายภาพบำบัด(Physical Therapy) และ อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ผ่าตัด ผ่าลดความตึงของกล้ามเนื้อ, การย้ายเอ็น, ผ่ากระดูกที่ผิดรูป
ดูแลให้กำลังใจ
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวรก้อนเนื้อ, น้ำหนักลด, มีไข้, เคลื่อนไหวผิดปกติ, อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : ระยะเวลาการมีก้อนเนื้อ
ตรวจร่างกาย : น้ำหนัก, ตำแหน่งก้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : MRI , CT
การรักษา
ผ่าตัด, เคมีบำบัด, รังสีรักษา
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน(Phantom
pain)บริเวณแขน/ขาที่ถูกตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
ความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหนาท้องOmphalocele
ลักษณะทางคลินิก
ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง
omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายในได้
การรักษา
conservative
ทำดดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ ใช่Tr.Mercurochrome 1% ทาทุก 2-3 hr.ในระยะแรก
operative
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
เป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
Gastroschisis การที่ผนังหน้าท้องแยกจากกัน
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็ นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาแล้วเกิดการแตกทะลุของhermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดที่หน้าท้องทารกพบถุงสีขาวขุ่นบาง สามารถมองเห็นขดลำใส้หรือตับผ่านผนังถุง
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด (Nursing preoperative care)
เช็ดทำความสะอาดลำไส้ส่วนที่สกปรก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดภาวะ Hypothemia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่น้ำหนักน้อย หรือ
คลอดก่อนกำหนด และมีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ (insensible loss) ซึ่ง
จะนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่ำ
อาจเกิดภาวะติดเชื้อของแผลจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดอาการท้องอืค หรืออาเจียน เนื่องจากมีลมในกระเพาะอาหารและ
ลำไส้
อาจเกิดการขาดสารน้ำและอีเลกโตรลัยท์ เนื่องจากงคอาหาร น้ำและจาก
การที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
บิดามารคามีความวิตกกังวลเกีขวกับการเจ็บป่วยของบุตร
การดูแลหลังผ่าตัด
Problem
Respiratory distress
Hypothermia
Hypoglycemia, Hypocalcemia
General care
Fluid and nutrition support
Antibiotic prophylaxis
Wound care
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะการติดเชื้อของแผลผ่าตัด
อาจกิดภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการใช้แรงกดถุงลำไส้ให้เคลื่อนเข้าช่อง
ท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืดหรืออาเจียน เนื่องจากการที่ลำไส้บวมหรือมีการอุดตัน