Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, นางสาวพรนภัส พลวงค์ษา เลขที่ 44…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ระยะก่อนตั้งครรภ์
ขั้นที่ 1 การวางแผนตั้งครรภ
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 2 การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลหนึ่ง
ระยะคลอดและหลังคลอด
ขั้นที่ 7 การมองดูทารก
ขั้นที่ 6 การสนใจดูแลสุขภาพและทารกในครรภ์และการแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
ขั้นที่ 8 การสัมผัสทารก
การส่งเสริมสายสัมพันธ์แม่-ลูก หมายถึงการส่งเสริมความรักความผูกพนั ระหว่างมารดาและทารก(bonding & attachment)อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์ระยะแรกคลอด หรือเกิดขึ้นเมื่อมารดามีปฏิสัมพันธ์กับทารกในระยะหลังคลอด และจะพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมั่นคงต่อไป มารดาเกิดความรู้สึกผูกพันกับทารกได้หลายช่วงเวลา
กิจกรรมการพยาบาลเพื่อส่งเสริมมารดาสร้างสายสัมพันธ์แม่-ลูก
แจ้งให้มารดาทราบถึงเพศ เวลาเกิดของทารกทนั ทีหลังคลอดเพื่อสร้างสัมพันธ์ตั้งแต่วันแรกที่ทารกคลอด และให้มารดาดูเพศทารก ผูกป้ายผ้าที่มีชื่อ – นามสกุลมารดาที่ข้อเท้าทารกก่อนตัดสายสะดือ หลังจากนั้นนำทารกไปเช็ดตัวเพื่อซับน้ำคร่ำและไขให้แห้งใต้ radaint warmer โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณศีรษะ หลังจากซับน้า คร่ำและไขให้แห้งแล้วควรใส่หมวกให้ทารกเพื่อป้องกนัการสูญเสียความร้อน
ดูแลนำผ้าเย็นมาเช็ดหน้าให้มารดาเพื่อช่วยให้มารดาสดชื่นพร้อมต่อการทำ bonding &attachment หายจากอาการอ่อนเพลียและตื่นมากขึ้นในมารดาที่ง่วงซึมจากการได้รับยา Pethidine เพื่อบรรเทาอาการเจ็บครรภ์ก่อนคลอด ประเมินมารดาและทารกก่อนเริ่มทำ bonding & attachment
ดูแลจัด Position ให้มารดานอนศีรษะสูงเล็กน้อย นำทารกมาให้มารดาโอบกอด โดยนำทารกวางบนหน้าท้องหรือระหว่างเต้านมทั้ง 2 ข้างของมารดาและให้มารดาและทารกสัมผัสกัน โดย skin-to-skin contact และ eye-to-eye contact โดยแกะผ้าอ้อมบริเวณหน้าอกทารกออก นำทารกคว่ำบนหน้าอกมารดาที่เปิดผ้าไว้ให้เนื้อทารกสัมผัสกับเนื้อมารดา ห่อหลังทารกด้วยผ้าอ้อมให้มิดชิด ใส่หมวกไหมพรมให้ทารกไว้ตลอดเวลาขณะให้มารดาโอบกอด กระตุ้น ให้มารดาตื่นและมองทารกให้มารดาโอบกอดทารกนานตามความต้องการ
นำป้าย duo band มาผูกข้อมือมารดาและทารกขณะที่ทารกอยู่บนหน้าอกมารดา โดยแจ้งให้มารดาทราบว่า ป้ายduo band สีฟ้าหมายถึงทารกเพศชาย สีชมพูหมายถึงทารกเพศหญิง และป้ายduo bandของมารดาและทารกจะมีรหัส หมายเลขเดียวกัน เพี่อสร้างสายสัมพันธ์ความผูกพัน
ประเมินพฤติกรรมการแสดงออกของมารดาต่อทารกเพื่อส่งเสริมให้มีการสร้างสายสัมพันธ์อย่างมีประสิทธิภาพ
พยาบาลดูแลอยู่ข้างๆ มารดาตลอดเวลา
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
จังหวะชีวภาพ (Biothythmcity) ทารกร้องไห้ มารดาอุ้มไว้แนบอก ทารกจะรับรู้เสียงหัวใจ ซึ่งคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์
การรับกลิ่น (Odor) มารดาจำกลิ่นทารกได้แต่แรกคลอด ส่วนทารกสามารถแยกกลิ่นมารดาและหันเข้าหากลิ่นนมมารดาได้ภายในเวลา 6-10 วันหลังคลอด
การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะตามเสียงพูด (Entrainment) สัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
การให้ความอบอุ่น (body warmth หรือ heat) ห่อตัวและนำทารกโอบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน
การใช้เสียง (Voice) การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก ทารกจะอบสนองเสียงสูงได้ดีกว่าเสียงต่ำ
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte) ช่วยป้องกันและทำลายเชื้อโรคในทางเดินอาหาร
การประสานสายตา (Eye-to-eye contact) เป็นการเริ่มต้นพัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora) ขณะที่มารดาอุ้ม โอบกอดทารก จะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ
การสัมผัส(Touch,tactile sense) เป็นพฤติกรรมสำคัญที่จะผูกพันมารดาและทารก
การประเมินสัมพันธภาพระหว่ามารดากับทารก
ความสนใจในการดูแลตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
บทบาทการพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
ระยะตั้งครรภ์
ยอมรับการตั้งครรภ์
ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
การปรับบทบาทการเป็นบิดามารดา
ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
ให้ข้อมูล เป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
สร้างบรรยากาศให้เกิดความไว้วางใจ
ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
ตอบสนองความต้องการของมารดา
Rooming in โดยเร็วที่สุด
ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโอบกอดทารกทันทีหลังคลอด ในระยะ sensitive period
กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกันตามลำพัง
นางสาวพรนภัส พลวงค์ษา เลขที่ 44 ชั้นปีที่ 2 ห้อง B