Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกหัก
หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างของกระดูกแยกออกจากกัน อาจจะแตกแยกกันโดยสิ้นเชิงหรือเพียงบางส่วนที่แตกแยก
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า การบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อ หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นที่อยู่รอบกระดูก ได้รับอันตราย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
เยื่อบุโพรงกระดูก
: สร้างกระดูกได้มากและเร็ว ยิ่งเด็กเล็กยิ่งกระดูกติดเร็ว
การวิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายไม่แน่ชัด
เยื่อหุ้มกระดูก
: แข็งแรงสร้างกระดูกได้ดีกว่า เวลาหักเด็กจึงกระดูกติดเร็ว
การบวมของแขน-ขา
: จะเกิดขึ้นเร็วในเด็ก และก็จะหายได้ไว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
: ระวังการเกิดภาวะ Volk man's
การเจริญเติบโต
ของเด็กเล็กเริ่มจากทดทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ ต่อมาทดแทนส่วนปลายด้วยทุติยภูมิ ทำให้กระดูกงอกตามยาว
แผ่นเติบโต
: มีความอ่อนแอ เอ็น,เอ็นหุ้มข้อ และเยื่อหุ้มข้อ เมื่อแตกจะหักบริเวณนี้มากกว่า
สาเหตุ
มักเกิดจากการ
ได้รับอุบัติ
เหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
เกิดจาก
พยาธิสภาพของโรค
ที่ทำให้กระดูกแตกหักได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
อาการปวดบวมและกดเจ็บ บริเวณกระดูกที่มาพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณกระดูกหักหรือเกยกัน
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมาผิวหนัง
อวัยวะที่บาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนมากรักษาโดยไม่ผ่าตัด
ยกเว้น
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด III,Iv
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยการไม่ผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
: เกี่ยวกับอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย
: ให้ความสนใจส่วนที่ได้รับอันตราย กระทำด้วยความนุ่มนวล
ลักษณะของกระดูกหัก
: สังเกตว่ามีบาดแผลหรือไม่ มีกระดูกโผล่หรือไม่
ลักษณะของข้อเคลื่อน
: เคลื่อนออกจากกันโดยตลอดหรือเคลื่อนจากกันเล็กน้อย
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้ได้รับการบาดเจ็บเพิ่ม
แก้ไขตามปัยหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก จนกระดูกหักติดดี
ให้กระดุกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ระยะแรกมุ่งลดความเจ็บปวด จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆ ใช้เฝือกดาม ไม้ดาม
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อยในเด็ก
4.การเคลื่อนของกระดูกเรเดียส
: พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
5.กระดูกปลายแขนหัก
: พบบ่อยตั้งแต่เด็กเริ่มหัดเดินจนถึงวัยรุ่น
3.กระดูกข้อศอกหัก
: โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น Volkman's ischemic contracture
6.กระดูกต้นขาหัก
: ตำแหน่งที่พบ คือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา ถ้าอายุต่ำกว่า 3 ปี ให้ใส่เฝือกขาแบบยาว 3-4 สัปดาห์
2.กระดูกต้นแขนหัก
ทารกแรกเกิด
: มักเกิดในรายคลอดติดไหล่แล้วผู้คลอดนำนิ้วเกี่ยวออกมา
เด็กโต
: อาจล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus
การวินิจฉัย
: แขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
: ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่ต้องผ่าตัด
สาเหตุ
: ข่ายประสาทถูกยึด ได้แก่ คลอดท่าก้น คลอดติดไหล่
1.กระดูกไหปลาร้าหัก
: เกิดขึ้นบ่อยโดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี ในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง
: ปวดบวมข้างที่เป็น คลำได้เสียงกรอบแกรบ ไหล่ตก ขยับข้างที่เป็นได้เล็กน้อย
การรักษา
ทารกและเด็กเล็ก
ตรึงแขนข้างที่หักให้นิ่งมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ระมัดระวังเรื่องการอุ้ม
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี
อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
การเข้าเฝือกปูน
ประเมินหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง ระมัดระวังอย่าให้เฝือกเปียกน้ำ
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
ดูแลแรงดึงให้สมดุลเพียงพอน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนเด็กให้ถูกตามชนิดของ Traction
สังเกตการไหลเวียนเลือดส่วนปลาย
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษาในเด็ก
Bryant’s traction
: เด็กที่กระดูกต้นขาหัก แรกเกิด-ไม่เกิน 2 ปี
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
: กระดูกหักที่ต้นแขน
Dunlop’s traction
: ใช้ในรายที่มีการบวมมาก
Skin traction
: อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป อาจทำให้ foot drop
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บ
โดยสังเกต คลำ ดูความสัมพันธ์อวัยวะการเคลื่อนไหว
การผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
ด้านจิตใจ
: สภาพแวดล้อมในห้องผ่าตัด ขั้นตอนการผ่าตัด ไออย่างมีประสิทธิภาพ
ด้านร่างกาย
: เตรียมผิวหนังเฉพาะที่ ทำความสะอาดร่างกาย ตรวจดูเรื่องฟันโยกของเด็ก v/s ประเมินอาการทางระบบประสาท
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ แพทย์จะทำในรายที่มีกระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัว จัดท่านอนราบไม่หนุนหมอน
ประเมินระดับความเจ็บปวด
ประเมินปริมาณเลือดออกบริเวณแผล
โรคที่เกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อในเด็ก
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
การวินิจฉัย
: ตรวจร่างกาย ลักษณะผู้ป่วย ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
: ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทำในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
อาการ
: มักคลำพบก้อนที่ที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
โรคไตบางชนิดที่ไม่สามารถอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต ภาวะฟอสเฟตต่ำ
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย
อาการและอาการแสดง
:
ช่วงก่อน 1 ปี
พบกะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อกระหม่อมปิดช้า หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
หลัง 1 ปี
พบความผิดรูปมากขึ้น ขาโก่ง กระดูกสันหลังคก
พบมากช่วงอายุ 6 เดือน-3 ปี จากการขาดวิตามินดี ทำให้กระดูกหักง่าย
การป้องกัน
: รับแสงแดดช่วงเช้า เน้นอาหารโปรตีนและแคลเซียม ออกกำลังกาย ให้วิตามินดี ในเด็กคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
: แบบประคับประครอง ,การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
Bone and Joint infection
Probable
: น่าจะติดเชื้อที่กระดูก
Likely
: คล้ายติดเชื้อที่กระดูก
Definite
: ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน
การวินิจฉัยการติดเชื้อ
อุณหภูมิมากกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
มีปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับข้อ ข้อบวม
มีอาการทาง Systemic ไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
การวินิจฉัย
: ประวัติ มีอาการปวด มีไข้ ปวดบวมแดงร้อน เฉพาะที่, การตรวจร่างกาย, การตรวจ Lab, การตรวจรังสี
การรักษา
: ยาปฏิชีวนะตามแผนการรัษาของแพทย์ และการผ่าตัด
อุบัติการณ์
: พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ
: เชื้อแบคทีเรีย ,เชื้อรา เข้ากระดูกจากการทิ่มแทงภายนอก
อาการแทรกซ้อน
: กระดูกและเนื้อเยื่อตาย, ยับยั้งการเจริญของกระดุกตามยาว
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
การวินิจฉัย
: ลักษณะทางคลินิค ได้แก่ มีไข้ อักเสบ บวมแดง, ผล Lab, การตรวจทางรังสี
การรักษา
: ให้ยาปฏิชีวนะ, การผ่าตัด เพื่อระบายหนอง
สาเหตุ
: เชื้อเข้าสู่ข้อ
ภาวะแทรกซ้อน
: ข้อเคลื่อน, ข้อถูกทำลาย
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
:
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก
การวินิจฉัย
: อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ, ตรวจ Lab, ตรวจทางรังสี
การรักษา
: ใช้ยาต้ายวัณโรค, การผ่าตัด เพื่อตรวจชิ้นเนื้อ หรือระบายหนอง
อาการและอาการแสดง
: เริ่มแสดงอาการหลังติดเชื้อ 1-3 ปี กระดูกจะบางลง
อาการแทรกซ้อน
: กระดุกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง
สาเหตุ
: เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ
ตำแหน่งที่พบบ่อย
: ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
เท้าปุก (Club Foot)
รูปร่างของเท้าที่มีข้อเท้าจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าใน กลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
สาเหตุ
: สรุปได้ไม่แน่ชัด เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์, การติดเชื้อในครรภ์
การวินิจฉัย
: ตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้า
"เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน"
การรักษา
การดัดใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระดูก
อายุ 3-10 ปี
ผ่าตัดเชื่อมกระดูก
อายุ 10 ปีขึ้นไป
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
อายุน้อยกว่า 3 ปี
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
: เด็กอายุ 3-10 ปี ที่ไม่มีส่วนโค้งใต้ฝ่าเท้า
สาเหตุ
: พันธุกรรม โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง การเดินผิดปกติ
การรักษา
: พบแพทย์ ใส่รองเท้าที่ขนาดพอดี ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาการ
: ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการแบนราบ ปวดฝ่าเท้า
Cerebral Palsy
: ความพิการทางสมอง ทำให้มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
การรักษา
ลดความเกร็งดดยใช้ยา
การผ่าตัด
ป้องกันการผิดรูก ได้แก่ กายภาพ
ดูแลและให้กำลังใจ
รักษาด้านอื่นๆ
สาเหตุ
: เกิดขึ้นได้ทั้งก่อน/ระหว่าง/หลังคลอด
ภาวะกระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
ชนิด
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง
การตรวจวินิจฉัย
: ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, การตรวจร่างกาย ได้แก่สังเกตความพิการหลัง, ตรวจ Lab
อาการและอาการแสดง
: ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง อาการปวดเมื่อหลังคดมาก ใส่เสื้อผ้าไม่พอดี
การรักษา
: ควบคุมหรือลดการคด มีทั้งรักษาแบบผ่าตัดและไม่ผ่าตัด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
พบใน เด็ก > ผู้ใหญ่ พบในเพศชาย>เพศหญิง
อาการและอาการแสดง
: ปวดบริเวณก้อนเนื้องอก มีไข้ น้ำหนักลด
การวินิจฉัย
: ซักประวัติ คือ ระยะเวลามีก้อนเนื้องอก การปวด, การตรวจร่างกาย ได้แก่ น้ำหนัก ตำแหน่งก้อน, ตรวจ Lab
การรักษา
: "ตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกัน การแพร่กระจายของโรค" โดย การผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยมีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ บางส่วนขาดหายไป
ลักษณะทางคลินิค
: ตรวจก่อนการคลอด ใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์ได้ ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง Omphalocele อยู่ติดผิวหนัง
การรักษา
Conservative คือ ใช้สารละลายฆ่าเชื้อทาที่ผนังถุง
Operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่ก้าเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว
เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord ก่อนทารกคลอด
การวินิจฉัย
:เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่าง ๆ กัน สามารถมองเห็นขดล้าไส้หรือตับผ่าน
ผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm