Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวรติมา มณีคำ รุ่น 36/2…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เด็ก
ความหมายด้านสุขภาพ
หมายถึงบุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็ก แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
20 พฤศจิกายน ของทุกปีถือว่าเป็นวันสิทธิเด็ก
ประเทศไทยลงนามเข้าเป็นภาคีตั้งแต่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2535
มี 4 ด้าน
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
เป็น สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในด้านพัฒนาการ
เด็ก ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีชีวิต
คือ สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม
เป็นสิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก
ระยะของการเจ็บป่วย
Chronic เรื้อรัง
มีผลกระทบต่อการปรับตัวของบุคคลและ
ครอบครัวอย่างมาก
รักษาไม่หายขาด บุคคลต้องต่อสู้กับโรคตลอดชีวิต
Crisis วิกฤต
การดูแลเน้นการรักษา :red_flag:
มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว
Acute เฉียบพลัน
หมายถึง ในทันทีทันใดเฉียบพลัน
เช่น อาการหัวใจวายเฉียบพลัน
Death / Dying
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย
ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต
ภายใต้การดูแลรักษาด้วยยา ดูแลรักษาใกล้ชิด
พยากรณ์โรคว่าสามารถมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 6 เดือนหรือน้อยกว่า
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
อายุ 7-11 ปี
ประเภทที่ 3
การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4
ภายในร่างกาย
อายุ 18 เดือน - 7 ปี
ประเภทที่ 1
ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2
สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ประเภท 0
ตอบแบบไม่เข้าใจ
11-12 ปี - วัยผู้ใหญ่
ประเภทที่ 5
ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6
เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
การเข้าใจเกี่ยวกับความตาย
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทำให้เด็กบางคนกลัวการนอนกลัวว่าหลับแล้วอาจจะตายแล้วไม่ตื่นอีกเลย
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบ
สมบูรณ์ โดยเฉพาะเด็กที่เคยเผชิญการตายของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ใหญ่
ด้วยข้อจำกัดของวัย คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
วัยเรียน
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
สนใจพิธีการในงานศพ
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตายจากไป
เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีก
ไม่ได้ เข้าใจเรื่องของเวลา อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยแรกเกิดและวัยทารก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex
เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ
ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
วัยรุ่น
เป็นตัวของตัวเองมาก ต้องการจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นและ
เกี่ยวข้องกับตัวเองด้วยตัวเอง ไม่ต้องการการบังคับ หรือควบคุม
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยาก
พ่อแม่ควรให้ความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการของเด็กแม้จะไม่ได้ร้องขอ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เป็นภาวะวิกฤตของเด็กทำให้เด็กเครียดและส่งผลให้ต้องปรับตัว จะปรับตัวได้มากได้น้อยขึ้นอยู่กับ
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ประสบการณ์เดิมที่เด็กเคยเผชิญเมื่อตอนป่วยครั้งก่อน
ระบบการดูแลและช่วยเหลือเด็ก
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ผลกระทบต่อความเจ็บป่วย
วัยก่อนเรียน
คิดว่า ความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษ
คิดริเริมสร้างสรรค์อย่างมุ่งหวังประสบผลสําเร็จในงานบางอย่าง
วัยเรียน
มีการสังคมนอกบ้าน ในกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียน
การขาดเรียนบ่อยๆอาจต้องเรียนชันทําให้เด็กรู้สึกมีปมด้อยมากขึ้น
มุ่งมั่นต่อผลสําเร็จ
วัยเดิน
เด็กยังไม่เข้าใจเหตุผลว่าทำไมพ่อแม่ต้องทอดทิ้ง
ถูกบังคับให้พึ่งบิดามารดา จะทําให้รู้สึกหวาดกลัว
เป็นวัยอิสระ อยากรู้อยากเห็น
วัยรุ่น
มีผลกระทบต่อ ความเชื่อมันในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง
วัยทารก
ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
เด็กอาจขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา
การเจ็บป่วยทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Critical care concept
Stress and coping
Pain management
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง(despair)
มีพฤติกรรมที่ถดถอย
เสียใจอย่างลึกซึ้ง แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง
เด็กอาจจะดึงผม ข่วนหน้าตัวเอง
เด็กจะยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวดต่อต้านเพียงเล็กน้อยยอมกินอาหาร
ไม่ส่งเสริมให้มารดามาเยี่ยม ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่ผิด
ระยะปฏิเสธ(denial)
หันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ตลอดเวลา
เด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง ไม่ยอมร่วมมือในการรักษา
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกเศร้า
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
วัยหัดเดิน/ก่อนวัยเรียน
ใช้คำง่าย ๆ ที่เข้าใจได้ง่าย
อนุญาตให้บุตรหลานของคุณเลือกสิ่งที่เขาโปรดปรานเพื่อนำไปโรงพยาบาล
สร้างความมั่นใจให้ลูกของคุณว่าคุณจะอยู่กับเขาหรือเธอเมื่อใดก็ตามที่เป็นไปได้
วัยเรียน
พูดคุยเกี่ยวกับความกลัวและคำถามของเด็กอย่างเปิดเผย
ช่วยลูกของคุณให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าทำไมเขาถึงต้องมีขั้นตอนบางอย่างหรือต้องเข้าโรงพยาบาล
เตรียมเด็กวัยเรียนของคุณหนึ่งถึงสองสัปดาห์ล่วงหน้า
ทารก
รักษากิจวัตรตามปกติให้มากที่สุด
ก่อให้เกิดความเครียด
วัยรุ่น
กระตุ้นให้วัยรุ่นของคุณถามคำถามเกี่ยวกับการดูแลโรงพยาบาลขั้นตอนและกำหนดเวลา
อนุญาตและสนับสนุนความเป็นส่วนตัวของวัยรุ่น
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
แนวคิด
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
หลักการดูแล
ลงมือปฏิบัติ สนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็งและมีลักษณะเฉพาะ
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ
เคารพและยอมรับในความแตกต่างทางวัฒนธรรม ความเป็นบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นแก่พ่อแม่เด็กอย่างต่อเนื่อง
กระตุ้นและสนับให้เกิดเครือข่ายผู้ปกตรอง
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุก
ระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่นเข้าถึงได้
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่
บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
Pain assessment
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด
ลักษณะการเจ็บปวด
ตำแหน่งที่ปวด
ผลกระทบต่อความปวด
ความรุนแรงของความปวด
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือ
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
CRIES Pain Scale
FLACC Scale
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
Faces scale
การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกปวด
Numeric rating scales
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป ซักถามถ้าไม่ปวดเลย ให้ 0 ปวดมาก
ที่สุดให้ 10 ขณะนี้ปวดเท่าใด
การประเมิน
การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
ความเจ็บปวดด้วยตนเอง
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินความปวดตามวัย
3-6 ปี
พฤติกรรม→สรีรวิทยา→รายงานด้วยตนเอง
6ปี
รายงานด้วยตนเอง→พฤติกรรม→สรีรวิทยา
แรกเกิด-3 ปี
พฤติกรรม→สรีรวิทยา
หลักการประเมินความปวด
เลือกวิธีทีเหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ทีมีการรับรู้บกพร่อง [หรือไม่สามารถสือสารได้ควรดูแลเป็นพิเศษ
ควรประเมินอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนือง
บันทึกเป็นหลักฐาน
ประเมินก่อนให้การพยาบาล
หลีกเลี่ยงคําถามอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด ถ้าเป็นเด็กเล็กอาจถามจากพ่อแม่เด็ก
นางสาวรติมา มณีคำ รุ่น 36/2 เลขที่ 17 รหัสนักศึกษา 612001097