Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา…
บทที่ 1 แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
ความหมาย
ช่วงวัยระยะพัฒนาการ
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
เด็ก
บุคคลตั้งแต่แรกเกิดถึง 15 ปี
มีอายุเกิน 7 ปีแต่ไม่เกิน 14 ปี
สิทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child)
วันที่ 20 พฤศจิกายนของทุกปี เป็น"วันสิทธิเด็ก"
มีทั้งหมด 4 ด้านได้แก่
2.สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง เป็น สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ เช่น การทารุณกรรมทางร่างกาย จิตใจ และทางเพศ ซึ่งรวมถึงการล่วงละเมิดทางเพศ
3.สิทธิในด้านพัฒนาการ เด็ก ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
4.สิทธิในการมีส่วนร่วม เป็นสิทธิที่ให้ความส าคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระท าของเด็ก ในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
1.สิทธิในการมีชีวิต คือ สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
ระยะการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด ต้องสู้กับโรคไปตลอดชีวิต
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ในทันทีทันใดเฉียบพลัน รุนแรงมาก
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
สามารถอยู่ได้ประมาณ 6 เดิอนหรือน้อยกว่า
เป็นระยะที่ได้รับการวินืจฉัยจนถึงขั้นเสียชีวิต
ระยะวิกฤต (Crisis)
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการ เน้นการรักษาประคับประคองภาวะแทรกซ้อน
พยาบาลต้องมีความรู้ การตัดสินใจที่รวดเร็ว ทักษะดี สติดี การสื่อสารดี
การพยาบาลเด็กระยะการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง(despair) แสดงออกด้วยการโศกเศร้า เสียใจลึกซึ้ง แยกตัวเงียบๆ อิดโรย อ่อนเพลีย จะยอมร่วมมือการรักษาแต่ต่อต้านเล็กน้อย
ทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเด็กปรับตัวได้
ระยะปฏิเสธ(denial) ถ้าอยู่โรงพยาบาลนานเด็กจะหันมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนว่าปรับตัวได้ แต่เก็บกด แต่จะไปสนิทกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
ระยะประท้วง (protest) เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอด หยุดตอนนอน เด็กจะปฎิเสธทุกอย่าง
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
การพยาบาลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สำคัญ
2.การร่วมมือ (Collaboration)
3.การสนับสนุน (Support)
1.การตระหนักและการเคารพ (Respect) เคารพในความแตกต่าง/วัฒนธรรม/สังคม/ความเชื่อ
หลักการการดูแล
2.สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับ
3.มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นแก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่องไม่ลำเอียง
1.เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก แม้ระบบบริการสุขภาพและบุคลากรมีการเปลี่ยนแปลง
4.เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ
6.ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง ลักษณะเฉพาะ เคารพวิธการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
7.เคารพในความหลากหลายเชื้อฃาติ วัฒนธรรม
8.กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
9.จัดบริการให้มีความยืดหยุ่นเข้าถึงได้
5.ลงมือปฎิบัติช่วยเหลือสนับสนุนครอบครัวที่มีปัญหาด้านอารมย์และเศรษฐกิจ
Pain assessment
ลักษณะการประเมิน
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
ความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือใช้ประเมิน Pain
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CRIES Pain Scale
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability scale
Faces scale
Numeric rating scales
นางสาวธิดารัตน์ ขยันหา 36/1 เลขที่ 50