Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท และกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท และกล้ามเนื้อ
ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะสูง
ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะคือภาวะที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูงกว่าปกติ ซึ่งปกติแล้วความดันโดยเฉลี่ยจะประมาณ 100-160 มิลลิเมตรน้ำ ซึ่งวัดได้จากการเจาะตรวจดูน้ำไขสันหลังถาความดันของน้ำไขสันหลังที่เจาะได้สูงเกินกว่า 200 มิลลิเมตรน้ำ
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
จำกัดน้ำโดยอาศัยหลักว่าถ้าน้ำภายในเซลล์ลดลงแล้วความดันภายในสมองก็จะลดตามไปด้วย
เพิ่มอัตราการหายใจให้มากกว่าปกติ (Hyperventilation) โดยให้ bag-mask ventilation 100% O2 ทำให้ CO2ในเลือดลดลงกว่าเกณฑ์ปกติให้อยู่ระหว่าง 25-30 mmHg (ค่าปกติ PaCO2=30-45mmHg) มีผลต่อความต้านทานของหลอดเลือดในสมอง ทำให้หลอดเลือดหดตัวเลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลง ส่งผลให้ความดันในกะโหลกศีรษะลดลง
ให้ผู้ป่วยได้รับยา Acetazolamine (diamox) ตามแผนการรักษาในกรณีที่มีความดันในกะโหลกศีรษะสูง ปัสสาวะเพิ่มขึ้น เพิ่มการดูดซึมโซเดียม โปแตสเซี่ยม และไบคาร์บอเนต
ประเมินสัญญาณชีพและการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาททุก 1-2 ชั่วโมง ถ้ามีเลือดไปเลี้ยงสมองพอ Cerebral perfusion มากกว่า 50 mmHg ผู้ป่วยจะรู้สึกตัวดีขึ้น ภาวะที่อยู่ในขั้นวิกฤตคือ จะมีอาการปวดศีรษะ อาเจียน ตาพร่ามัว
ผู้ป่วยที่ทำ Ventriculostomy เพื่อระบายน้ำไขสันหลัง ลดความดันในกะโหลกศีรษะและลดการเบียดของสมองวางถุงรองรับน้ำไขสันหลัง (transfer bag) ไว้ที่หัวเตียงในระดับเหนือหู 10 เซนติเมตร ระวังสายยางที่ระบายน้ำไขสันหลังไม่ให้มีการรั่วไหลออกสู่ภายนอก ป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ (secondary infection)
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 15-30 องศา
. Hypothermia เป็นการทำให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 32-33 องศาเซลเซียส จะช่วยให้สมองมีการเผาผลาญลดลง การมีไข้สูงจะทำให้ร่างกายใช้พลังงานมากและมีการเผาผลาญสูงจนเกิดภาวะกรดเกินและหลอดเลือดขยายทำให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ CO2 คั่ง ซึ่งจะทำให้หลอดเลือดขยายส่งผลให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิดการเพิ่มความดันภายในช่องท้องหรือ ในช่องอก (Valsalva maneuver) เช่นการไอ การจาม การเบ่งอุจจาระ การจัดท่านอนไม่ให้ศีรษะเอียงไปด้านข้างหรือก้มศีรษะมากเกินไป
หลีกเลี่ยงการกระตุ้นให้เด็กเจ็บปวดและกระวนกระวายเช่นการดูดเสมหะไม่ ควรเกิน 10-15 วินาทีหลีกเลี่ยงการจัดท่านอนคว่ำเพราะจะทำให้เพิ่มความดันในช่องอกและช่องท้อง อาจจัดให้นอนตะแคงกึ่งคว่ำ(semiprone position) หรือตะแคงไปข้างใดข้างหนึ่งจะทำให้เสมหะในปากและในคอไหลออกสู่ภายนอกได้ง่าย เป็นการรักษาค่าความดันของก๊าซในเลือดให้ PaO2 อยู่ระหว่าง 80-100 mmHg และค่า PaCO2 อยู่ระหว่าง 30-45 mmHg
ติดตามประเมินค่า pulse oximeter
Myelodysplasia
เป็นความผิดปกติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของ spinal column ตั้งแต่เป็นตัวอ่อนใน
ครรภ์มารดา (Embryonic life) โดยไม่มีการเจริญปิดของ neural tube
สาเหตุ
การขาดอาหาร โดยเฉพาะ สังกะสีโฟเลต วิตามิน
อายุของมารดา กลุ่มที่เสี่ยงคือ มารดาวัยรุ่น และมารดาอายุมากกว่า 35 ปี
Chromosomal aberration หรือทารกในครรภ์ได้รับสารพวก teratogenic drug
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดและปิดแผลด้วย NSS และปิด sterilized gauze เปลี่ยนทุก 2 ชั่วโมง หรือ ทุกครั้งที่dressing เปียกชุ่ม
จัดท่านอน ไม่ให้นอนทับบริเวณแผล
ดูแลการได้รับอาหารและน้ำอย่างเพียงพอ ประเมินน้ำหนักตัว
สังเกตอาการทั่วไป และประเมินการติดเชื้อจาก สัญญาณชีพ และอาการอื่นๆ เช่น ซึมลงดูดนมได้น้อยลง อาเจียน เป็นต้น
สังเกตอาการ และให้การดูแลเกี่ยวกับการถ่ายกระปริดกระปรอย ถ่ายลำบาก ท้องอืด
ดูแลความสะอาดบ่อยๆ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำมากเพียงพอ (ในกรณีไม่มีข้อจำกัดปริมาณน้ำที่เข้าสู่ร่างกาย)
ทำ crede' maneuver กระเพาะปัสสาวะด้วยความนุ่มนวลทุกครั้งที่ถ่ายปัสสาวะ เพื่อไม่ให้มีน้ำปัสสาวะคั่งค้าง
ให้กำลังใจผู้ปกครองเกี่ยวกับปัญหาของผู้ป่วย และแนะนำ ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการดูแล
สมองอักเสบเเละเยื่อหุ้มสมองอับเสบ (Encephalitis and Meningitis )
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
อาจไดรับสารอาหารและน้ำไมเพียงพอ เนื่องจากอาการและพยาธิสภาพทางสมองและการไดรับยาขับน้ำ
ประเมินและบันทึก I/O
ติดตามผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ
ประเมินน้ำหนักตัวและภาวการณ์ขาดน้ำ
ดูแลการไดรับน้ำและสารอาหาร เช่น IV, gavage feeding, กระตุ้นใหดูดนม เป็นต้น
ไม่สุขสบายพักหลับได้น้อยเนื่องจากภาวะ ICP มีการระคายเคืองจากการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อเยื่อสมอง มีไข้ มีความเจ็บปวด
วางแผนการพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยมีเวลาพักและสงบอย่างเพียงพอ
เช็ดตัวและใหยาลดไข หรือยาบรรเทาอาการเจ็บปวด
จัดสิ่งแวดล้อม จัดทำนอนให้เหมาะสม พลิกตัวควรทำอย่างนุ่มนวล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจ และเซลล์สมองขาดออกซิเจน
จัดท่านอนใหหายใจสะดวกเปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง เช่น ดูดเสมหะบอยตามความจำเป็น จัดทานอนระบายเสมหะรวมกับการเคาะปอด
ประเมินการหายใจ และภาวะขาดออกซิเจน
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
พัฒนาการล่าช้า
ดูแลให้ผู้ป่วยไดรับการตอบสนองความต้องการพื้นฐาน
เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองมีส่วนรวมในการดูและสงเสริมพัฒนาการ
ประเมินพัฒนาการ
จัดกิจกรรมสันทนาการใหเหมาะสมกับอาการและวัย
สมองอักเสบ
เป็นการอักเสบของเนื้อสมอง บางครั้งการอักเสบของเนื้อสมองอาจมีการอักเสบของเนื้อเยื่อ
หุ้มสมองและไขสันหลังเกิดร่วมด้วยก็ได้
เยื่อหุ้มสมองอับเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ เป็นการติดเชื้อในเยื่อหุ้มสมอง (Meningitis) เป็นบริเวณส่วนที่เป็นเมมเบรน ปกป้องหุ้มเนื้อสมองและไขสันหลัง ซึ่งมีอาการสำคัญ คือ ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ไม่สู้แสง คลื่นไส้อาเจียนและมีอาการแสดงของการระคายเคืองเยื่อหุ้มสมองเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
สาเหตุ
เ
ยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค (Tuberculous meningitis)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค เกิดจากเชื้อ mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ประเภท acid fast bacilli เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากวัณโรคเป็นผลทุติยภูมิต่อวัณโรคส่วนอื่นของร่างกาย เช่นวัณโรคปอด วัณโรคต่อมน้ำเหลือง วัณโรคกระดูก ในเด็กส่วนมากจะพบการติดเชื้อวัณโรคที่ปอดก่อนแล้วเชื้อลุกลามไปตามน้ำไขสันหลังแล้วไปสู่สมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
เชื้อแบคทีเรียสามารถไปสู่ Subarachnoid Space แล้วทำให้เกิดเยื่อหุ้มสมองอักเสบ