Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
ความหมาย
โรคของเมตาบอลิซึมของดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
พบมากในเด็กอายุ 6 เดือน - 3 ปี จากการขาดวิตามินดี
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือทานอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม
3.โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต ่า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase
อาการและอาการแสดง ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดปกติมากขึ้น
การักษา
1.แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
2.การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามิน
bone and joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis) ในเด็กถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้เกิดความพิการตามมาได้
osteomyelitis
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรืออวัยวะใกล้เคียง
การวินิจฉัย
ประวัติ มีอาการปวด เด็กเล็กแสดงโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขา ข้างที่เป็น เด็กโตบอกตำแหน่งปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย มีปวดบวมแดงร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ผล CBC พบ Leucocytosis, ESR, CPR มีค่าสูง ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
การตรวจทางรังสี
Plain flim พบเยื่อส่วนลึกบวม โดยเฉพาะบริเวณ metaphysis bone scan ได้ผลบวก
MRI พบ soft tissue abcess, bone marrow edema
การักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระตูกตาบออก
septic arthitis
สาเหตุ เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง การแพร่จากกระแสเลือด เชื้อสาเหตุส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR, CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
3.การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
คำจำกัดความ Morrey and Peterson
Definite ๖ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน๗
probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กพบร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณดรคปอด ต่ำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ จากเชื้อ Mycobacterium tuberculosis
อาการและอาการแสดง
ในเด็กอาการจะเริ่มแสดงหลังติดเชื้อประมาณ 1-3 ปี ที่กระดูกรอยโรค เริ่มที่ metaphysis ของ lond none ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมาก อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้นและบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะการอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต มีอาการปวดข้อ อาการขึ้นกับตำแหน่งที่เป็น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
ค่า CRP, ESR สูง
ทดสอบ tuberculin test ผล+
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
Clup Foot เท้าปุก
รูปร่างเท้ามีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) สันเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ ,การติดเชื้อในครรภ์
แบบทราบสาเหตุ
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2 teratologoc clubfoot เป็ นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็ นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus (ITCEV) พบตั้งแต่ก าเนิด
การววินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคำจำกัดความ "เท้าจิกบิดเอียงเข้าด้านใน" ควรแยกเท้าปุกที่สามารถหายได้เองจากผลของท่าของเท้าที่บิดขณะอยู่ในครรภ์
positional clubfoot : ขนาดเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้า เด็กจะสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เอง ต้องได้รับการรักษา
การรักษา
จุดมุ่งหมาย
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนักได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
การดัดและใส่เฝือก อาศัยหหลักการดัดให้รูปร่างเท่าปกติ ได้ในกรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 สัปดาห์ เพื่อให้ดีควรใส่เฝือกตั้งแต่แรกเกิด ใส่นาน 2-3 เดือนและ นัดF/U เนื่องจากมีโอกาสกลับเป็นซ้ำ
การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกผิดรูป ไม่สามารถดัดให้รูปเท้าดีขึ้น ต้องทำการผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release) ทำในอายุ < 3 ปี
การผ่าตัดกระดูก (osteotomy) ทำในอายุ 3-10 ปี
การผ่าตัดเชื่อมกระดูก (triple fusion) ช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่ าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบน หรือ Flat feet
อาการ
ขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ด คือมีการบิดงอของข้อเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อมีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยงชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริมส้น
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด