Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็ก มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็ก มีปัญหาระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
ความรู้สึกตัวดี
ความรู้สึกสับสน
การรับรู้ผิดปกติ
ความรู้สึกง่วงงุน
ไม่รู้สึกตัว
หมดสติ
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ
ความผิดปกติทางประสาท
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมหับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชัก
เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิดของการชัก
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
การชักเป็นแบบทัังตัว (generalized seizure)
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้น ๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทัั้งตัว
(Local or Generalized seizure)
ชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
โรคลมชัก(Epilepsy)
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันตรายระหว่างการคลอด
ภยันตรายที่ศีรษะ
ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission
ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง
อาการเเละอาการเเสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง
ชนิดของลมชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures
/Simple focal seizure) ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial
seizures /Complex focal seizure) ขณะชักจะสูญเสียการรับรู้สติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal
with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures) เกิดการเสีย
หน้าที่ของสมองทั้ง 2 ซีก
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
ท่าทางของเด็กภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย
งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว
Decerebrate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงายเหยียดออก
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
หมดสติระดับลึก (deep coma)
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการเเละอาการเเสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ
ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการ
คอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย)
ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก
การประเมินสภาพ
Meningeal Irritation
การตรวจน้ำไขสันหลัง
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การตรวจวิเคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรค
วิธีตรวจหาค่า (MIC)
วิธี seminested-PCR
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
การติดต่อ
จากคนสู่คน
ละอองฝอย น้อมูก น้ำลาย
อาการและอาการเเสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
Meningococcemia
Meningitis
โรคอุทกเศียร
อาการทางคลินิค
หัวบาตร(Cranium enlargement)
หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ความดันในกระโหลกศรีษะสูง
ตาเขเข้าใน
การหายใจผิดปกติ
พัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
เลี้ยงยากไม่ทานอาหาร
การรักษา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การผ่าตัด
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมอง
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
สายระบายน้ำอุดตันหรือระบายมากไป
ติดเชื้อ
โพรงสมองตีบเเคบ
เลือดออกในศรีษะ
ไตอักเสบ