Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล, นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่41…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล
:pencil2:สิทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child)
สิทธิในการมีชีวิต คือ สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ เด็กที่ลี้ภัยจากอันตรายเข้ามา
ในประเทศของรัฐภาคี จะต้องได้รับการคุ้มครองและช่วยเหลือ
สิทธิในด้านพัฒนาการ สิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
สิิทธิในการมีส่วนร่วม เป็นสิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก สิทธิในการปกป้องเรียกร้อง
ผลกระทบที่เกิดกับชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะวิกฤต (Crisis) เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการดูแลเน้นการรักษา ป้องกันภาวะแทรกซ้อน พยาบาลต้องมีความรู็ เเละการตักสินใจดี
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying) เป็นระยะที่ได้รับการวินิจฉัยเจ็บป่วยถึงขั้นสูญชีวิต เเละพยากรณ์โรคว่าสามารถมีชีวิตได้ประมาณ 6 เดือน หรือน้้อยกว่า
ระยะเฉียบพลัน (Acute) ระยะรุนแรงมาก ทันทีทันใดเฉียบพลัน
ระยะเรื้อรัง (Chronic) เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด ต้องเข้ารับการ
รักษาในโรงพยาบาลบ่อยๆ ต้องเผชิญกับความเครียดเป็นเวลานาน
:pencil2:
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
physiological reflexเพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะ
ร้องเมื่อหิว เจ็บ ไม่สุขสบาย
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมได้(Reversible)
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทำให้เด็กบางคนกลัวการนอน
บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยเรียน
มองความตายที่มีต่อตนเองได้ชัดขึ้น
เข้าใจความหมายของความตาย
เข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตาย
ในวันหนึ่ง
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
:pencil2:
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การปรับตัวของ
เด็กและครอบครัวของเด็กขึ้นกับ
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ประสบการณ์เดิมของเด็ก
ความสามารถของเด็กในการปรับตัว
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูเเล
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
ทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก เเละเด็กก็จะขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา อาจส่งต่อพัฒนาการของเด็กได้
วัยก่อนเรียน
ทำให้มีความยากลำบากในการเรียนรู้ การเข้าโรงพยาบาลบ่อยๆเด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษ
วัยรุ่น
จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation anxiety
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
•Body image
Death and dying
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
ด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมากเเละตลอด จะปฏิเสธทุกอย่าง ไม่ให้ความร่วมมือ จะร้องค่อยเมื่อเหนื่อย เมื่อมารดามาเด็กจะประท้วงมากขึ้น
ระยะสิ้นหวัง(despair)
โศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ้ง แยกตัวอยู่เงียบๆ มีพฤติกรรมที่ถดถอย ให้ความร่วมมือ ต่อต้านเล็กน้อย
ระยะปฏิเสธ(denial)
ในเด็กที่อยู่นานหลายวัน เด็กแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่ามารดาจะมาหรือจะไป เหมือนปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
:pencil2:
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สำคัญ
การตระหนักและการเคารพ (Respect) เคารพและยอมรับในความแตกตางทางวัฒนธรรม ความเป็นบุคคล
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
-ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
-ให้ความสำคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวล
-ให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วย
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพ
-มีการสื่อสารในทางที่ดี เปิดเผย และต่อเนื่อง
-ให้เกียรติซึ่งกันและกัน
-วางแผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
มีการเเลกเปลี่ยนข้อมูลกับมารกา บิดาต่อเนื่อง
--อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
-ให้ข้อมูลทั้งวาจาเเละลายลักษณ์อักษร
-อธิบายเป้าหมายพยาบาล
-ตอบข้อสงสัย
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือสนับสนุนเเละช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาด้านอารมณ์เเละเศรษฐกิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดเเข็ง เเละลักษณะเฉพาะ
-ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
-รับฟ้งความคิดเห็น ค่านิยม ความต้องการ
-เสริมสร้างพลังอำนาจของครอบครัว
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติ ค่านิยม ความเชื่อ
กระตุ้นเเละสนับสนุนให้เกิดเครื่อข่ายผู้ปกครอง
-ให้คุณค่า ความสำคัญของการช่วยเหลือ
-สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่าย
-ส่งต่อไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้ ตอบสนองควาใต้องการ
-จัดหาวิธีการเเละทางเลือกการรักษา
-กระตุ้นให้เกิดการดูเเลเเบบสหสาขา
:pencil2:
Pain assessment
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
ประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
ประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
ควรถาม
ความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวดฃ
ลักษณะการเจ็บปวด
ผลกระทบต่อความปวด
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpain
CRIES Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability
Scale)
Faces scale
Numeric rating scales
หลักการประเมินความปวด
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามน าอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
3.ควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจ
และบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
4.ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่41 612001042 รุ่น36/1