Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มบำบัด เรื่องภาวะนํ้าเกิน - Coggle Diagram
กลุ่มบำบัด เรื่องภาวะนํ้าเกิน
ประเภทกลุ่มบำบัด
กลุ่มให้ความรู้
ลักษณะการทำกลุ่ม
ผู้นำกลุ่มมีการกระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนประสบการณ์
ผู้นำกลุ่มจะต้องเป็นผู้มีความรู้ในประเด็นที่สอน
ผู้นำกลุ่มเป็นผู้สอน หรือให้ข้อมูลในประเด็นภาวะนํ้าเกิน แก่สมาชิกกลุ่ม
เป้าหมาย
เน้นให้สมาชิกมีความรู้ใน เรื่องภาวะนํ้าเกิน และทักษะที่จำเป็นเกี่ยวกับการเจ็บป่วยที่อาจจะเกิดขึ้น หรือการดูแลตนเอง
ข้อดีและข้อเสียกลุ่มบำบัด
ข้อดี
1.เหมาะสมกับวัยรุ่น เกิดความเข้าใจเห็นใจอยากช่วยเหลือกัน
สถานการณ์ในกลุ่มเป็นแบบจำลองให้สมาชิกในกลุ่มฝึกปรับตัว สร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่นและทักษะสังคม
การประคับประคองทางอารมณ์เกิดได้มาก
ฝึกทักษะทางสังคมได้ดี
ผลของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมีมากและคงอยู่ถาวร
การเรียนรู้เป็นไปด้วยดี เป็นธรรมชาติ การต่อต้านเกิดขึ้นน้อย
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
ข้อเสีย
มีโอกาสเกิดปัญหาหรือความขัดแย้งระหว่างการดำเนินการกลุ่ม
สมาชิกที่มีลักษณะแตกต่างกันมาก อาจจะกระทบต่อกระบวนการกลุ่มได้
ด้วยข้อจำกัดของเวลา และจำนวนสมาชิก ทำให้ความต้องการเฉพาะบุคคลไม่ได้รับการตอบสนองอย่างเต็มที่ สมาชิกอาจจะเกิดความคับข้องใจ หรือไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร
ความหมาย
กลุ่มบำบัด เป็นการรักษาแบบหนึ่ง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกกลุ่ม เกิดการเรียนรู้แบบใหม่ ได้เห็นแบบอย่างที่ดี เปลี่ยนแปลงความคิด เจตคติ และมีทักษะในการดำเนินชีวิตที่ดี
บทบาทผู้นำบำบัด
สร้างบรรยากาศที่ผ่อนคลาย เป็นมิตร ยอมรับและให้เกียรติ
ชี้แจง/ให้ข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของกลุ่ม
สร้างสัมพันธะภาพ ความคุ้นเคย และความไว้ใจ
กระตุ้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำกลุ่มบำบัด
เปิดโอกาสให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นและข้อสงสัย
กระตุ้นให้สมาชิกทบทวนสิ่งที่เกิดขึ้นในกลุ่ม/สะท้อนสิ่งที่ได้จากการเข้ากลุ่ม
ปัญหาที่พบในการดำเนินกลุ่มบำบัด
มีการแสดงความคิดเห็นที่ออกนอกประเด็น
มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนจากกติกา/ข้อตกลง
ลุกจะไปเข้าห้องนํ้า ระหว่างที่ผู้นำกลุ่มให้ความรู้
คุยกันขณะที่ผู้นำกลุ่มให้ความรู้
ขั้นตอนการดำเนินการกลุ่ม
ขั้นเริ่มกิจกรรมบำบัด
บอกชื่อกลุ่ม/เรื่องที่จะสอน
บอกวัตถุประสงค์ของกลุ่ม
แจ้งวันที่/เดือน/ปี
กล่าวเปิดกลุ่มโดยการเกริ่นนำ เพื่อสร้างบรรยากาศ
แจ้งกฎการเข้ากลุ่มให้สมาชิกทุกคนทราบ
ดื่มนํ้าและปัสสาวะให้เรียบร้อยก่อนเข้ากลุ่ม
เข้าร่วมกลุ่มก่อนเวลา
ไม่คุยกัน 2 ต่อ 2
ไม่นำขนมหรืออาหารมารับประทาน
ก่อนออกจากกลุ่มต้องขออนุญาตทุกครั้ง
ไม่พูดแทรกกัน
ยกมือก่อนแสดงความคิดเห็น
ช่วยเก็บเก้าอี้เมื่อเสร็จกลุ่ม
ขั้นตอนการดำเนินกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ร่วมกันสรุปประโยชน์ที่ได้จากการร่วมการทำกลุ่มร่วมกัน
ดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้สุขภาพจิตศึกษา
เมื่อสมาชิกออกนอกประเด็นผู้นำกลุ่มกล่าวยํ้าสะระสำคัญ เพื่อดึงดูดเข้าสู่ประเด็น
เมื่อสมาชิกทำผิดกฎ ผู้นำกลุ่มทบทวนกฎการทำกลุ่ม
ให้แรงเสริมโดยการปรบมือหรือชมเชยสมาชิกที่แสดงความคิดเห็นที่เป๋นประโยชน์
ประเมินพิ้นฐานความรู้เดิมของสมาชิกกลุ่ม
เปิดโอกาสให้สมาชิกสอบถามข้อสงสัยเพิ่มเติมภายหลังการสอน
ตั้งคำถามเพื่อทบทวนเนื้อหา
ให้สมาชิกทุกคนถามในข้อสงสัย และร่วมแสดงความคิดเห็น
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะนํ้าเกิน
อธิบายขั้นตอนในการดำเนินกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ขั้นยุติกลุ่มกิจกรรมบำบัด
ส่งเสริมให้สมาชิกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการทำกลุ่ม
การยุติกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สรุปสาระสำคัญของกิจกรรม
ผลจากการกลุ่มจิตบำบัด
1.การแสดงออก เปิดเผยทั้งความคิด ความรู้สึก อารมณ์ โดยอิสระ ปราศจากการปิดกั้นหรือเก็บกด เด็กที่กล้าแสดงออกมากเป็นตัวอย่างแก่เด็กขี้อาย ขี้กลัว ไม่มั่นใจตนเอง
การควบคุมตนเองให้อยู่ในกฎเกณฑ์ของกลุ่ม เป็นการฝึกให้เด็กมีการยับยั้งใจตนเอง ไม่เอาแต่ใจตนเอง
3.ความรู้สึกดีต่อตนเอง เกิดจากการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม การได้ทำสิ่งที่ดีงาม และทำได้สำเร็จ มีคนอื่นชื่นชม
การมองกันในแง่ดี การยกย่องชมเชย การให้กำลังใจกัน
5.การระบายอารมณ์ที่เก็บสะสมในบรรยากาศกลุ่มที่ปลอดภัย ทำให้จิตใจผ่อนคลาย
ประโยชน์ที่ได้จากการดูวิดิโอ
ทำให้มีแนวทางในการทำกลุ่มจิตบำบัดให้มีประสิทธิภาพ ทั้ง 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเริ่มทำกลุ่มจิตบำบัด ขั้นดำเนินการ และขั้นยุติ
มีแนวทาง และทักษะในการแก้ไขปัญหา หากผู้เข้ารับการบำบัดไม่ทำตามกฎ หรือออกนอกประเด็น
ได้ทราบวิธีดำเนินการของการทำกลุ่มจิตบำบัด
สามารถนำความรู้ที่ได้จากกรณีศึกษาเป็นแนวทางในการปฎิบัติจริงต่อไป
วิดิโอกรณีศึกษา
กลุ่มกิจกรรมบำบัด "กลุ่มสุขภาพจิตศึกษา"
https://www.youtube.com/watch?v=M8nGJ0P5kas