Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ กระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ กระดูก
ภาวะชักจากไข้สูง
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
ความผิดปกติของระบบประสาท
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื อ
สาเหตุ
ติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร
ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
อาการ
อุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
การชักเป็นแบบทั้งตัว
มีไข้ร่วมกับชัก
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
ชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
การชักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
การชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
มีความผิดปกติของระบบประสาท
มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Meningitis
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ เยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว
Haemophilus influenzae
Neisseria meningitidis
Streptococcus peumoniae
อุบัติการณ์
เชื้อ H.influenzae
เกิดโรค ในเด็กอายุ
ระหว่าง 2 เดือน ถึง 7 ปี
เกิดในช่วงหน้าหนาว
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
เชื้อมักจะเข้าทางหูชั้นกลางอักเสบ
เชื้อ Neisseria meningococcus
เด็กพบเชื้อนี้ ระบาดในศูนย์เลี้ยงเด็กกลางวัน
เชื้อจะติดต่อทางเดินหายใจ น้ำมูก น้ำลาย
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ
อาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมองถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8) ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
เชื้อเมนิงโกคอคคัส จะตรวจพบผื่นแดงที่ผิวหนัง จุดเลือดออก
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ค่าปกติของน้ำไขสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75 – 180 มม.น้ำ
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml
กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
ความรู้สึกตัว
ความไม่รู้สึกตัว
การทำงานสมองที่ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ท่าทาง
Decorticate posturing ท่านอนที่เด็กนอนหงาย
งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว ในระดับไหล่ ก ามือแน่นและ
งอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ส่วนขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้า
ออก และงอปลายเท้าเข้าหากัน
ระดับความรู้สึกตัว
รู้สึกตัวดี Full conciousness
ตื่นและรู้สึกตัวดี รับรู้บุคคล เวลา สถานที่
รู้สึกสับสน confusion
สับสน ผิดปกติในการตัดสินใจ
รับรู้ผิดปกติ disorientation
ไม่รับรู้ต่อบุคคล เวลา สถานที่
รู้สึกง่วงงุน lethargy / drowsy
เคลื่อนไหวน้อยลง พูดช้าลง
กระตุ้นนด้วยสิ่งเร้า โต้ตอบปกติ
obtundation กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าไม่โต้ตอบ
รู้สึก stupor
ไม่รู้สึกตัว หลับลึก ต้องกระตุ้นแรงๆ ซ้ำหลายๆครั้ง
หมดสติ coma
ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง ไม่เคลื่อนไหว
ท่าทาง
Decerebrate posturing เด็กนอนหงาย แขน
ทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ าแขนลงโดยบิดข้อมือออก
ด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน
แนะนำการดูแลสุขภาพ
รับประทานอาหารครบ5หมู่
พักผ่อนให้เพียงพอ
ระบบขับถ่าย ระวังท้องผูก
ตรวจสุขภาพตามนัดทุกครั้ง
เจาะเลือดหาระดับยากันชัก
งดยากันชักก่อนเจาะเลือดเมื่อเช้า
ออกกำลังที่เหมาะสม
โรคลมชัก Epilepsy
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆอย่าง
น้อย 2 ครั้งขึ้นไป อาการชักครั งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24
ชั่วโมง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
น้ำตาลในเลือดต่ำ
โรคทางพันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ
ผิดปกติของ Neurotransmission
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
พยาธิสภาพภายในสมอง Symtomatic epilepsy
อุบัติการณ์
บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท
อายุ 2-5 ปี
เพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการและอาการแสดง
preictal period ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ seizure prodromes
อาการบางอย่างที่นำมาก่อน
มีอาการชัก อาจเกินนานหลายนาที ชั่วโมงก่อนชัก
อาการเตือน Aura
อาการปวด ชา เห็นภาพหลอน
Peri-ictal period ระยะที่เกิดอาการชัก
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง
Postical paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism เคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก
Interictal peroid ช่วงเวลาระหว่างการชัก
ทั่วไปจะไม่มีอาการ แสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ ขณะชักผู้ป่วยรู้ตัวตลอดเวลา
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
สูญเสียการรับรู้สติเมื่อสิ้นสุดการ ชักจะจำเหตุการณ์ในช่วงชักไม่ได้
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักแกร็งกระตุกทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
เสียหน้าที่ของสมองทัั้ง 2 ซีก
อาการชักเหม่อ
เหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวชั่วคราว
อาการเกร็งกระตุก
ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวนานไม่เกิน
30 วินาที
อาการชักกระตุก
ชักมีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะของอาการชัก
อาการชักเกร็ง
ลักษณะเกร็งแข็งจากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที
อาการชักตัวอ่อน
ชักที่มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที
อาการชักสะดุ้ง
ชักที่มีลักษณะสะดุ้ง มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก
โรคไข้กาฬหลังแอ่น Meningocccal Meningitis
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว เรียงตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ
ระะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ) และผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้
จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลายแล้ว
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน โดยเชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย (droplet)จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด
(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังและเกิดภาวะช็อกอย่าง
รวดเร็ว
Meningococcemia
Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ อาการนำมาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น
ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ
Chronic Meningococcemia ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง
อาจเป็น ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน อาจช็อคถึงเสียชีวิตได้
Meningitis
อาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่
ลงอย่างรวด
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ
Ceftriaxone
Chloramphenicol
PGS
รักษาแบบประคับประคองและตามอาการ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
อาการสำคัญ คือ
ศีรษะโตแต่กำเนิด
กระหม่อมหน้าโป่ง
ปวดศีรษะ
ซึม
ไม่ดูดนม
อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalusความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalusความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ าไขสัน
หลัง post meningitis
อาการแสดง
.หัวบาตร (Cranium enlargement
.หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน (Suture separation)
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง (Fontanelle bulging)
.หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดด า(Enlargement &
engorgement of scalp vein)
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
( Macewen sign Cracked pot sound)
ปวดศีรษะ , ตามัว , อาเจียน
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้าง
รีเฟลกซ์ไวเกิน(Hyperactive reflex)
การหายใจผิดปกติ(Irregular respiration)
การพัฒนาการช้ากว่าปกต
สติปัญญาต่ ากว่าปกติ,ปัญญาอ่อน
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
การรักษา
รักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ
Acetazolamide
รักษาด้วยการผ่าตัด
ผ่าตัดใส่สายระบายน าในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ผ่าตัดใส่สายระบายน าในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมองมีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
ติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
.การอุดตันสายระบายน้ าในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ไตอักเสบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ lumbosacrum
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral archesไม่รวมตัวกัน
ช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5
หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
เยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น
ถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
ถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมอง
น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลังและไขสันหลัง
การรักษา
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
ทำ V P Shunt ภายหลังทารกมักต้องผ่าตัดหลายครั้ง
สมองพิการ Cerebral palsy
ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวการทรงตัว
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia
ความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขา
ทั้ง 2 ข้าง คอและล าตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplegia
ความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia
ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy
การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
อาการและอาการแสดง
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด