Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, ่ circular cast - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ
เพศ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิงประมาณ 7 ต่อ 3
สาเหตุที่พบบ่อยเกิดจากการหกล้มเป็นส่วนใหญ่
รองลงมาคือตกจากที่สูง และอุบัติเหตุในท้องถนน
กระดูกต้นแขนหัก รองลงมาคือกระดูกแขน ท่อนปลาย
กระดูกหักพบมากทางซีกซ้ายมากกว่าทางซีกขวาถึง
3 ต่อ 2
การรักษาส่วนใหญ่รักษาโดยวิธีอนุรักษ์นิยม
ใช้เวลาในการรักษาส่วนใหญ่ 4-6สัปดาห์
สาเหตุ
อุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรง
กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
กล้ามเนื้อที่เกาะกระดูกถูกฉุดกระฉากแรงเกินไป
มีพยาธิสภาพของโรคที่ท้าให้กระดูกบาง
หักแตกหักง่าย
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
คอลลาเจนไฟเบอร์ (collagen fiber) แคลเซี่ยม เซลล์สร้างกระดูก ( osteoclast ) รวมเรียกสิ่งที่สร้างขึ้นว่า (callus) เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ ( biological glue ) ถ้าเชื่อมระหว่างคอร์เทกซ์ด้านนอกเรียกว่า external callus ถ้าเชื่อมด้านในเรียกว่า endocallus พวกที่เป็นกระดูกนุ่มcancellous bone จะมีendocallus มากกว่าพวกกระดูกด้ามยาว (long bone)
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจพบทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
มุ่งลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อ และกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตราย ด้วย
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก
( fracture of clavicle )
อาการ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
• ปวด บวม ข้างที่เป็น
• เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคอง
ข้างที่เจ็บ
• Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วันระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็กในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอด
สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด การหักของกระดูกบริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction
กระดูกข้อศอกหัก
( Supracondylar fracture )
ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด
กระดูกปลายแขนหัก
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลํายล่ํางๆ หรือ
ส่วนล่ําง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือBryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปีแก้ไขโดยทำ Russel’s traction
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
(birth palsy)
สาเหตุ
ข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่
จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น(tendon),เอ็นหุ้ม
ข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือ
ข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นเกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิด ภาวะ Volk man’s ischemic contracture
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center) ต่อมาจะมีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิ(ossification center secondary) ท้าให้กระดูกงอกตามยาว
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับ
บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การดึงกระดูก (Traction)
ชนิด
Bryant’s traction
Over Head traction
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /
ผล Lab / ผล X-ray
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
ขั้นตอนในการผ่าตัดโดยสังเขป
การปฏิบัติตัวภายหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน
Volkmann’s ischemic contracture
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกท าลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหต
ุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
เลือดเเข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
จากการเข้าเฝือก
ระยะต่าง ๆ
ระยะเริ่มเป็น
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ซักประวัติ
ลักษณะผู้ป่วย
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์พยุง
การผ่าตัด
polydactyly
การรักษา
ผ่าตัด
สาเหต
พันธุกรรม
ภาวะแทรกซ้อน
ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกับการสวมใส่รองเท้า
syndactyly
ภาวะแทรกซ้อน
ก่อให้เกิดความเจ็บปวดและความยากง่ายกับการสวมใส่รองเท้า
การรักษา
ผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด
พยาธิสรีรภาพ
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขายาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้องไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
รายที่กระดูกสันหลังคดไม่ทราบสาเหตุ หลังจะคดมากขึ้นเรื่อย ๆกระดูกสันหลังแต่ละชิ้นจะเอียงตัวโค้งและมีการหมุนกระดูกซี่โครง ด้านโค้งออก (Convex) จะโป่งนูนไปด้านหลัง ส้าหรับกระดูกซี่โครงด้านเว้า (Concave) จะเข้ามารวมตัวกันและหมุนไปด้านหน้า
การวินิจฉัย
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและและดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อยหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก
เป้าหมายของการรักษา
ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น
ลดความพิการ
ป้องกันและลดอาการปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลละแข็งแรง
วิธีการรักษา
การผ่าตัด
แบบอนุรักษ์นิยม
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด(Scoliosis)
กระดูกสันหลังคด
โรคที่ผู้ป่วยมีลักษณะของกระดูกสันหลังผิด
รูป เริ่มโค้งงอไปทางด้านข้าง และหากวัดมุมส่วนโค้ง
ชนิด
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง
ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติถามเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ
อาการ
เมื่อให้ผู้ป่วยก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก
ความพิการของกระดูกสันหลังพบกระดูกหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกทำได้ยาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกราน (Iliac Creast)ไม่อยู่ในระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระหว่างแขนและเอวไม่เท่ากัน
เกิดอาการปวดเมื่อยหลังคดมาก
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
ผ่าตัด
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสันหลังคด
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดล าตัว
่ circular cast