Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก เเละเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ,…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก เเละเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหักเเละข้อเคลื่อน
ข้อเคลื่อน
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด ยกเว้น -กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
-กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
-กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
-ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
กระดูกหัก
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
สาเหุต
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น กระดูกฝ่ามือไม่แตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
3.1ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
3.2 จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่
ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
3.3 ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
3.4 ให้อวัยวะนั้นกลับทางานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
•Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
•Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
•ปวด บวม ข้างที่เป็น
•เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลาตัว พันนาน 10-14 วัน
ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี
อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลาตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสาลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
จะพบหัวไหล่บวม ช้ำ เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การหักของกระดูกบริเวณนี้ อาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2 - 3 สัปดาห์
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ”
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head )
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio- humeral ไม่หมด
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ
แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคย่ำมือ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
ตำแหน่งที่พบบ่อยคือ บริเวณปลำยล่ำงๆ หรือ ส่วนล่ำง 1/3 ของลำกระดูก
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูกถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือ Bryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี แก้ไขโดยทา Russel’s traction
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ : เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้ำหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้
รับบาดเจ็บเพิ่มเนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.1 เข้าเฝือกปูน
3.2 ดึงกระดูก( traction)
3.3 ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
ข้อมูลเสริม
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมงซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้าหนัก 1 กิโลกรัม
น้าหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียงขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลาย
จะต้องไม่เอาน้าหนักออก หรือถอด traction เองจนกว่าแพทย์สั่ง
รายที่ทา Skeletal Traction ต้องสังเกตอาการติดเชื้อบริเวณที่เหล็กดึงกระดูก
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้าหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture
ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้
Skin traction ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur
ผ่าตัดทา open reduction internal fixation (ORIF)
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate , screw, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมาก เกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
-ถ้าเลือดออกมากกว่า 3 มล./กก/ ชม. หรือ 200 cc /ชั่วโมงแสดงว่ามีภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม และปวด
การท้าแผล จะเปิดท้าแผลทุกวันหรือไม่เปิดท้าแผลเลย จนกว่าจะตัดไหมขึ้นกับลักษณะของแผล การตัดไหม มักจะเอาไว้อย่างน้อย 10-14 วัน
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
กระตุ้นให้เด็กมีการออกกาลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการ เคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้าให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
4 .การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติว่าต้องการช่วยอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
5.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสาลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก
ข้อเข่า ควรคลาย สาลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นทาแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
6.การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
6.4 ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
6.5 รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกาลังกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการกาแบมือบ่อยๆ
6.3 ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จาเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
6.2 ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเอาเฝือกออกเอง
6.1 การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้าหรือสกปรก
Volkmann’s ischemic contracture
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm (กลุ่มกล้ามเนื้อ pronator และ flexor)
ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อยเนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดาถูกกด หรือถูกเสียดสีจนช้าทาให้เลือดไหลกลับไม่ได้กล้ามเนื้อจะบวมตึงอาจเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ดังนี้
ปลายกระดูกหักชิ้นบน เช่นในรายที่มีการเคลื่อนของกระดูกมาก
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขณะที่บริเวณนั้นยังบวมอยู่
จากการเข้าเฝือก เฝือกที่เข้าไว้ในระหว่างที่การบวมยังดาเนินอยู่เมื่อเกิดอาการบวมขึ้นขึ้นเต็มที่ แต่ เฝือกขยายออกไม่ได้ เฝือกจึงคับทาให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น อาการที่สำคัญ
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บ และปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทาให้นิ้วแข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้า
มีอาการชา ชีพจร คลาไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้า เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ผิวหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้มากนัก จึงทาให้เกิดความอัดดันภายในมากเป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกทาลายสลายตัว เปลี่ยนสภาพเป็น fibrous tissue และหดตัวสั้นทาให้นิ้วและมือหงิกงอ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทาให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
โรคคอเอียงแต่กาเนิด
(Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลาพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆยุบลงไป
การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อ
บริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทาในเด็กอายุน้อยกว่า1 ปี โดย
-การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
-การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
-การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด
โดยการผ่าตัด อายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี จะได้ผลดีโดยการผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลายหลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้า
Polydactyly
สาเหตุ : พันธุกรรม
การรักษา : ผ่าตัด
Syndactyly
โดยทั่วไปไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพใด ๆ
การผ่าตัดรักษามีแนวโน้มที่จะส่งผลให้ผลลัพธ์ที่น่าพอใจ
การรักษา
เป้าหมายของการผ่าตัดเป็นมือในการปรับปรุงลักษณะที่ปรากฏของและเพื่อป้องกันความผิดปกติจากการพัฒนาก้าวหน้าเป็นเด็กเติบโตขึ้น
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง
การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้าให้
กระดูกเจริญเติบโตน้อย
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลาตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation)
กายภาพบาบัด , บริหารร่างกาย
การผ่าตัด
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะสันหลังคด
1.แนะนาการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
2.ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังโดย สังเกตและประเมินความปวด ได้แก่ ชนิด ตาแหน่ง ความรุนแรง ระยะเวลาปวด
3.ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและบริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา น้าเหลืองซึม แผลเปิดหรือไม่
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลาไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง
โรคไตบางชนิดทาให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphataseซึ่งเป็นตัวสาคัญที่ทาให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรงหลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป ได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis) ในเด็ก
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่า ต้องมี อาการ 5 ใน 6
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอกหรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
1.กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
2.กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทาลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทาให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการ โก่งผิดรูปของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียงเชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า
ผล Lab เจาะดูดน้าในข้อผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้าในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
วัณโรคกระดูกและข้อ
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ตาแหน่งที่พบบ่อย : ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จามของผู้ป่วย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักลด มีไข้ต่าๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้าเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค
ปวดข้ออาการขึ้นกับตาแหน่งที่เป็น
กระดูกสันหลัง จะปวดหลัง หลังแข็งเดินหลังแอ่น กระดูกสันหลังยุบ กล้ามเนื้ออ่อนแรง อัมพาต ชาแขนขา
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
Club Foot (เท้าปุก)
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง(equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด
อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
การรักษา
1.การดัดและใส่เฝือก
2.การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป ไม่สามารถดัดโดยใช้แรง
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้าหนักลด มีไข้
การเคลื่อนไหวของตาแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้าหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การรักษา
จุดมุ่งหมายหลักของการรักษา คือ “ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมดป้องกันการแพร่กระจายของโรค ”
1.การผ่าตัด
2.เคมีบาบัด
3.รังสีรักษา
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กาเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทาให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆมองเห็นอวัยวะภายใน
การรักษา
การดูแลรักษาความผิดรูปอื่น
conservative
operative
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure) มักจะทาเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
อีกวิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทาเป็นขั้นตอน (staged repair)
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
เป็นความผิดปกติแต่กาเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
ก่อนทารกคลอดก่อนรูสะดือปิด มักแตกด้านซ้ายของขั้วสายสะดือ สายสะดืออยู่ด้านขวา รูที่ผนังช่องท้องมักมีขนาด 2 – 5 cms.มีเยื่อ exudates หุ้มร้อยละ 10-15 ของผู้ป่วยอาจมีภาวะลาไส้ตัน (intestinal obstruction) หรือมีลาไส้ทะลุได้
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
ฝ่าเท้าของคนปกติเมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
อาการ
ขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser
เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
นางสาวอาทิตยา ว่องประเสริฐ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 3 ห้อง A