Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ภาววะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง
ซึม
ไม่ดูดนม
กรณีที่1:ไม่มีไข้
Head injury
Brain tumor
Epilepsy
กรณีที่ 2 มีไข้
Meningitis
Encephalitis
Tetanus
กรณีมีไข้สูงเกิน 38 องศา
อายุ 6 เดือน - 5 ปี นึกถึง Febrile convulsion
Febrile convulsion
อาการชักสัมพันธ์กับมีไข้
ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท หรือ Electrolyte imbalance
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
โดยเฉพาะในเด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของคนในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อระบบต่างๆที่ไม่ใช้ ระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่อ T มากกว่า 39 องศา
ชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม. แรกที่เริ่มมีไข้
มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากในช่วง 17-24 เดือน
ชนิด
Simple febrile seizure ( primary febrile seizure)
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน - 1 ปี
ระยะเวลาการชักเกิดไม่เกิน 15 นาที
การชักเป็นแบบทั้งตัว (generalizes seizure)
ไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
Complex febrile seizure
การชักเฉพาะที่หรือทั้งตัว (Local or Generalized seizure)
ระยะเวลาในการชักมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
แพทย์จะให้ Phenobarbital หรือ Valproic acid
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ไข้
การติดเชื้อ
ประวัติครอบครัว
การได้รับวัคซีน
โรคประจำตัว
ประวัติการชัก
ระยะเวลาของการชัก
ประเมินสภาพร่างกาย
LAB
การตรวจพิเศษอื่นๆ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง
ชันในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ
สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้ม
สมองถูกทำลาย
ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
เกิด
จากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว
Haemophilus influenzae
Neisseria
meningitidis
Streptococcus peumoniae
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้สูง
หนาวสั่น
ปวดศีรษะรุนแรง
ปวดข้อ
ชักและซึมลงจนหมดสติ
ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก
รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน
มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมอง
ถูกรบกวนหรือทำลาย (คู่ที่ 3, 4, 5, 6, 7, 8)
ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
ชนิด
เฉียบพลันจากแบคทีเรีย
เฉียบพลันจากไวรัส
วัณโรค
บทบาทของพยาบาล
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
V/S
Neuro sign
การตรวจพิเศษ
MRI
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจคลื่นสมอง
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดา
ความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัว
Full conciousness
รู้สึกตัวดี
confusion
สับสน มีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
disorientation
ไม่รับรู้ต่อเวลา สถานที่ บุคคล
lethargy/drowsy
สามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย
มีอาการง่วงงุน
พูดช้าและสับสน
stupor
ไม่รู้สึกตัว
ยังตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรง และกระตุ้นซ้ำหลายๆครั้ง
coma
ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง
Posturing
Decorticate posturing
นอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้างเข้าหาตัว
เหยียดปลายเท้าออก งอปลายเท้าเข้าหากัน
พบในเด็กที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
Decerebrate posturing
เด็กนอนหงาย เหยียดออก คว่ำแขวนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้าง แยกออกจากกัน
พบในเด็กที่หมดสติที่สมองส่วน midbrain ไม่สามารถทำงานได้ปกติ
Reflexes
ในช่วง Deep coma reflexes ต่างๆของเด็กจะหายไป
เครื่องมือที่ใช้วัด
glassgow coma scale
ตรวจกำลังกล้ามเนื้อ
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะของระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากว่า 24 ชั่วโมง
ผลจากเซลล์ประสาทสมองเคลื่อนไหวผิดปกติ
เกิดครั้งคราว ทันทีทันใด และรุนแรง
มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อลาย
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันตรายระหว่างการคลอดหรือหลังคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติของ tranmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
หาสาเหหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพในนสมอง
กลุ่ม Symtomatic epilepsy
แสดงโดยระบบประสาทอัตโนมัติ พฤติกรรมผิดปกติ ความรู้สึกตัวลดลง
อาการแสดง
Preicetal period
Seizure prodromes
Aura
ปวด
ชา
เห็นภาพหลอน
Ictal event หรือ Peri-ictal period
เกิดทันทีทันใด
เกิดในระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาที และหยุดเอง
เกิดขึ้นเองแต่บางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal period
Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis
สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
Automatism
เคี้ยวปาก
กระพริบตาถี่ๆ
ตีมือคว่่ำหงายสลับกัน
Interictal peroid
เริ่มตั้งแต่ระยะเวลา
หลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่
อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
ชนิดของลมชักและกลุ่มอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizures
/Simple focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial
seizures /Complex focal seizure)
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal
with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence) ไม่รู้สึกตัวชั่วครูู่
กลุ่มอาการชักเหม่อแบบตรง (Typical absence seizures)
อาการชักเหม่อที่มีอาการตัวอ่อนร่วม
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
ผู้ป่วยจะหมดสติ ร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวนานไม่เกิน
30 วินาที
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
เป็นการชักมีลักษณะกระตุก
เป็นจังหวะของอาการชัก
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
เป็นการชักมีลักษณะเกร็งแข็ง
จากกล้ามเนื้อมีความตึงตัวมากขึ้น เกิดนานประมาณ 2 – 10 วินาที
มีอาการจะมีลักษณะแขนขาเหยียดตรง
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันทีเมื่อเกิดอาการชัก
มักพบในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 5 ปี
อาการชักสะดุ้ง(Myoclonic seizures)
มีการหดตัวของกล้ามเนื ออย่างรุนแรงและรวดเร็วมาก
อาการ
คล้ายสะดุ้งตกใจ
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ความดันระหว่าง 75-180 มม.น้ำ (5-15มม.ปรอท )
ปกติไม่มีสี
ไม่มีเม็ดเลือดเเดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15-45 mg /100 ml. (1%ของ Serum protein)
กลูโคส 50-75 mg/100 ml
คลอไรด์ 700-750 mg/100 ml.
culture & latex agglutination
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
เชื้อสาเหตุ
Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บเชื้อตัวอย่างบริสุทธิ์)
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธี seminested - PCR
ระยะติดต่อ
ไม่มีอาการ เป็นพาหะ
ผู้ป่วยสามารถแพร่โรคได้จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อในน้ำมูก น้ำลาย
วิธีการติดต่อ
คนสู่คน
Droplet
ระยะฟักตัว 2-10 วัน
สามารถทำให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย
มักเป็นต้นตอของการแพร่เชื้อ
แบบเชื้อแพร่เข้ากระเเสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (Meningococcemis)
มีผื่นเลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่รุนเเรงมีเลือดออกในลำไส้และต่อมหมวกไต
แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitidis)
อาการและอาการแสดง
Meningococcemia
Acute Meningococcemia
ปวดศีรษะเจ็บคอ ไอ ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น
ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ
อาจตามมาด้วยไข้และผื่นแดงจ้ำขึ้นตามตัว 2-3 วันต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีคล้ำจนเป็นสะเก็ดดำ บางทีเป็นตุ่มน้ำมีจุดสีแดงอยู่ตรงกลาง
ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Chronic Meningococcemia
พบได้น้อย
มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง อาจเป็นผื่นแดงจ้ำ
ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน เป็นๆหายๆ
Fulminant Meningococcemia
เป็นอย่างรุนเเรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน อาจ Shock ถึงแก่ชีวิต
ส่วนมากเริ่มมีอาการไข้สูงทันที อ่อนเพลียมาก
เสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย
มักจะไม่มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เพราะเป็นระยะสั้นๆแล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
Meningitis
มีอาการไข้ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะเเย่ลงอย่างรวดเร็ว
อาจพบอาการที่แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีเลือดออกทางผิวหนัง
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
Rifampicin
Ceftriaxone
ciprofloxacin
โรคอุทกเศียร
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด
กระหม่อมหน้าโป่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก (OF circumference > C Circumference)
ซึม ไม่ดูดนม
อาเจียนพุ่ง
สาเหตุุ
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง Post meningitis
อาการแสดงทางคลินิก
Cranium enlargement
Disproportion Head circumference : chest circumference,height development)
Suture separation
Fontanelle bulging
Enlargement & engorgrment of scalp vein
Macewen sign ,Cracked pot sound
Sign of IICP
Setting Sun sign (Impaired upward gaze)
เนื่องจากมีการกดบริเวณ Midbrain ที่ Superior colliculs
ตาเขเข้าใน มองไปด้านข้างไม่ได้ เนื่องจาก CN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน (Diplopia)
Hyperreactive reflex
Irrigular respiration
Poor development , failure to achiieve milestones
Mental retardation
Failure to thrive
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
External Ventricular Drainage,EVD,Ventriculostomy
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย ผ่าตัดใส่สายระบายจาก
Ventriculo-peritoneal shunt
Ventriculo-atrial shunt
Ventriculo-pleural shunt
Torkildsen shunt
Transabdominal percutanous Ventriculo-amniotic shunt
CSF shunt
ประกอบด้วย 3 ส่วน
สายระบายจากโพรงสมอง (Ventricular shunt)
Valve และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง (Reservior)
สายระบายลงช่องท้อง (Peritoneal shunt)
Complication
Shunt malfunction
Shunt infection Epidermidis
Shunt obstruction
Overdrainge
Slit ventricle
Intraventricular hemorrhage
Shunt nephritis
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ
เนื้องอก
การอุดกั้นทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณี IICP สูงอย่างเฉียบพลัน
จัดท่านอนราบศีรษะสูง 15-30 องศา
กรณีที่ผู้ป่วยซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยลดความดัน PaCO2 ในหลอดเลือดแดงให้อยู่ระหว่าง 30-35 mmHg
การให้ Diuretics ทางหลอดเลือดดำ
Furosemide ลดปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียน
Osmotic diuritics
20% Manito; ,105 Glycerol,3% NaCl
Corticosteroides
Dexamethasone
Hypothemia เพื่อลด Cerebral Metabolism โดยพยายาม ให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ระหว่าง 27-31 องศาเซลเซียส
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
Hydrocephalus
Obstructive
Comunicating
ภาวะสมองบวม
Spida Bifida
พยาธิ
พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ
lumbosacrum
เป็นความบกพร่องของกระดูกสันหลัง
มี hydrocephalus ร่วมด้วยร้อยละ 80-90Arnold-Chiari type II กว่าร้อยละ 90 เป็น myelomeningocele คือส่วนที่ยื่นออกมามีทั้ง CSF และเนื้อไขสันหลัง
ชนิด
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches
ไม่รวมตัวกัน
เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง
เกิดบริเวณ L5
หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง
ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น
ถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
ไขสันหลังอยู่ตำแหน่งปกติ
ไม่
เกิดอัมพาต
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ
มีก้อนยื่นออกมา
ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง
อันตรายและเกิดความพิการ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
ได้ยากันชัก
ประเภท Valporic acid
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนแรง
พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูก
สันหลัง
การตรวจพิเศษ
การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
ผิดปกติ อาจมี myelomeningocele ต้องตรวจน้ำคร่่ำซ้ำ
ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transillumination test)
แยกเพราะ meningocele จะโปร่งใสไม่มีไขสันหลังอยู่
การรักษา
ชนิด Cystica ต้อง
ผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
Cerebral palsy
ชนิด
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia
Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
การ
เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื อตึงตัว
น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
1.ระบบหายใจ
จัดท่านอนของเด็กให้เหมาะสม โดยให้นอนตะแคงข้าง เพื่อ
ป้องกันการสำลัก
ดูแลไม่ให้มีอาหาร หรือเศษอาหารอยู่ในช่องปาก เพราะเด็ก
อาจสำลักได้
ดูดเสมหะให้เด็กเป็นระยะๆ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือให้พร้อมหากมีปัญหาเกี่ยวกับการอุดกั้นทางเดินหายใจ จะได้ให้การช่วยเหลือได้ทันที
2.แรงดันภายในสมอง
จัดให้เด็กนอนศีรษะสูง ประมาณ 15 – 30 องศา
หลีกเลี่ยงท่านอนหรือกิจกรรม ที่จะทำให้แรงดันภายใน
สมองเพิ่ม
การกดหลอดเลือดที่คอ (neck vein)
การก้มคอหรือแหงนหน้าไปด้านหลังอย่างเต็มที่
การหมุนศีรษะไปมา
การกระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด
การดูดเสมหะ
จัดท่านอนให้ข้อสะโพกงอไม่เกิน 90 องศา
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
ถ้าพบว่า เด็กแสดงอาการเจ็บปวดพยาบาลควรดูแลให้ยา
แก้ปวดตามแผนการรักษา
วางแผนการพยาบาล โดยให้มีการรบกวนเด็กให้น้อยที่สุด
ติดตามอาการแสดงที่บ่งชี้ว่าเด็กมีการเปลี่ยนแปลงของแรงดัน
ภายในสมอง
วัดรอบศีรษะทุกวัน
สังเกต-บันทึกพฤติกรรมที่
เปลี่ยนแปลงของเด็ก
3.การดูแลขั้นพื้นฐาน
ด้านอาหาร
ดูแลให้เด็กได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน ตามภาวะสุขภาพของ
แต่ละบุคคล
ดูแลให้เด็กได้รับอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณน้ำดื่ม และปัสสาวะทุกวัน
ควรชั่งน้ำหนักทุกวันหรือตามแผนการรักษา
ด้านการขับถ่าย
ดูแลให้เด็กได้รับน้้ำอย่างเพียงพอและสอดคล้องกับแผนการรักษา
ถ้าเด็กมีสายสวนปัสสาวะ พยาบาลควรดูแลความสะอาดให้เพียงพอ
ทำความสะอาดผิวหนังทุกครั้งหลังการขับถ่ายทั้งปัสสาวะและ
อุจจาระ
เปลี่ยนผ้าอ้อมหรือกางเกงทุกครั้งที่เด็กขับถ่าย
ประเมินบริเวณหน้าท้อง เพื่อตรวจสอบว่ากระเพาะปัสสาวะตึง
หรือไม่
ดูแลให้ยาระบาย เพื่อป้องกันอาการท้องผูกตามแผนการรักษา
ด้านความสะอาด
อาบน้ำให้เด็กทุกวัน
เปลี่ยนเสื้อผ้าให้เด็ก เพื่อความสะอาดและความรู้สึกสบาย
สระผมให้เด็กบ่อยๆ เพื่อให้ผมสะอาด
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน ผิวหนัง และเล็บ
อย่างสม่ำเสมอ
4.ภาวะแทรกซ้อนจากการไม่เคลื่อนไหว
ภาวะแทรกซ้อนระบบหายใจ
หมั่นพลิกตะแคงตัวเด็กทุก 2 ชั่วโมง ยกเว้นเด็กที่มีปัญหา ความดันในสมองสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับปอด เช่น ปอดอักเสบ
ความดันในสมองสูง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเกี่ยวกับปอด
เช่น ปอดอักเสบ
5.ให้ความรู้และคำแนะนำ
คำแนะนำในการรับประทานยากันชัก
รับประทานยากันชักสม่ำเสมอต่อเนื่องตามเวลา ห้ามหยุด/เพิ่ม/ลดยาเอง
ถ้าลืมรับประทานยากันชักทำอย่างไร
ลืมในวันเดียวกันให้รับประทานยาทันทีที่นึกได้
ลืมข้ามวันแล้วมีอาการชัก ให้ไปพบแพทย์
ลืมข้ามวันไม่มีอาการชักให้รับประทานยาต่อไป
ถ้ารับประทานยาแล้วอาเจียนภายในครึ่งชั่วโมง ให้รับประทานยาซ้ ฃ้ำใน
ขนาดเดิม ถ้าเกินครึ่งชั่วโมงไม่ควรให้ยาซ้ำอีก
เมื่อไม่สบายไม่ควรซื้อยารับประทานเอง