Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ห้อง A …
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
1.growth plate มีความอ่อนแอกว่าเอ็น เอ็นหุ้มข้อ เยื่อหุ้มข้อ จะมีการแตกหักบริเวณนี้มากกว่า
2.เยื่อหุ้มกระดูกมีความแข็งแรง กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
3.เยื่อบุโพรงกระดูกสร้างกระดูกได้มากและเร็ว ทำให้กระดูกติดเร็ว
4.หลังหักจะเกิดการบวมเร็ว แต่ก็หายเร็ว
5.การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนอาจะเกิดภาวะ Volk man's ischemic contracture
กระดูกหัก
ตำแหน่งที่พบบ่อย
1.กระดูกต้นแขน
2.กระดูกแขนท่อนปลาย(both bone of forearm)
3.พบว่ากระดูกหักทางซีกซ้ายมากกว่าซีกขวา
สาเหตุ : มักเกิดจากอุบัติเหตุนำมาก่อน หรืออาจะเกิดจากพยาธิสภาพของโรคที่ทำให้กระดูกบางหักแตกง่าย เช่น มะเร็งกระดูก กระดูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่เป็น
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมชั้นในมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก : collagen fiber และ osteoclast ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูก เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ จากนั้นประมาณ 8 ชม.มีปฏิกิริยาอักเสบอย่างเฉียบพลัน กระดูกที่สร้างขึ้นใหม่จะเิกดขึ้นหลังกระดูกหักประมาณ 48 ชม.
กระดูกไหปลาร้าหัก (fracture of clavicle)
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ข้างที่เป็นขยับได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวดบวม ข้างที่เป็น
การรักษา
ทารกและเด็กเล็ก : ตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว นาน 10-14 วัน
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี : ใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลีคล้องแขนไว้ 2-3 weeks
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ทารกแรกเกิด : มักเกิดในรายที่คลอดติดไหลแล้วผู้คลอดสอดนิ้วไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต : อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือศอกกระแทกเพื้นโดยตรง พบไหล่บวม ช้ำ เวลาจับจะปวด
การรักษา : ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคลองแขนไว้ 2-3 weeks ในรายที่กระหักเคลื่อนออกจากกันมากๆ ตึงด้วย traction ประมาณ 3 weeks
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture) : เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรงหรือข้อศอกงอ ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint 1 weeks เมื่อยุบบวม เปลี่ยนเป็นเฝือกพัน 2-3 weeks
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส : หัวกระดูก radial เคลื่อนออกจาก rdio-humeral ไม่หมด เกิดจากการดึงหรือหิ้วแขนขึ้นมาตรงๆ ในขณะที่ข้อศอกเหยียดหรือแขนท่อนปลายคว่ำมือ
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด : มีผลให้เกิดอาการแขนอ่อนแรง
การจัดให้กระดูกอยู่นิ่งตามแผนการรักษา
1.เข้าเฝือกปูน
1.1จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
1.2 ประเมินอาการหลังเข้าเฝือก 5PS หรือ 6P
1.3 ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
1.4 ระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
การตึงกระดูก ( traction)
ชนิดของ traction
2.1.Bryant's traction : .ในเด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิด-ไม่เกิน 2 ขวบ
2.2 Over Head traction : รักษากระดูกหักที่ต้นแขน ลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับลำตัว
2.3 Dunlop's traction : ใช้กับเด็กที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้ หรือในรายที่อาการบวมมาก
2.4 skin traction : ใช้ในรายที่มี factrue shaft of femur ในเด็กโต แต่อาจเิดการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
2.5 Russell's traction : ใช้ในเด็โตที่มี fracture shaft of femur ชิดนี้อาจะเกิดผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทใต้เข่าได้
3.ผ่าตัดทำ ORIF : เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate,screw,nail หรือ wire
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ความสะอาดร่างกาย
ประเมิน V/S อาการระบบประสาท หลอดเลือด
ให้สารน้ำ ยา เอกสารใบเซ็นยินยอม
ด้านจิตใจ : ให้คำแนะนำแก่เด็ก(โต)และญาติ
การพยาบาลหลังกับจากห้องผ่าตัด
1.ปนะเมินความรู้สึกตัว ผลข้างเคียงจากยาชนิด GA
ประเมินความเจ็บปวดโดย pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด การไหลเวรยนของอวัยวะส่วนปลาย
จัดท่าให้ยกส่วนที่ผ่าตัดสูงกว่าระดับหัวใจ
ทำแผลจนกว่าจะตัดไหมหรือลักษณะของแผล
Volkmann's ischemic contracture
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหรือไปเลี้ยงน้อย เนื่องจากเส้นเลือดแดงและดำถูกกด ทำให้เลือดไหลกลับไม่ได้ กล้ามเนื้อจะบวมดึง
ระยะต่างๆของการเกิดแบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะเริ่มเป็น : บวมชัดที่นิ้ว เจ็บ ปวด ชา คลำชีพจนไม่ชัดหรือไม่ได้ นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ นิ้วขาดซีดหรือคล้ำ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อบวม ตึง แข็ง สีคล้ำ ผิวหนังพอง นิ้สและมือหงิกงอ อาจมีอาการอัมพาตได้
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว : กล้ามเนื้อ Pranator และ flexor ของแขน บือ นิ้ว เกิดการกดตัว ทำให้หงิกงอใช้การไม่ได้
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
ลักษณะศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใด้านหนึ่ง กล้ามเนื้อหดสั้นลง ทำให้เอียงไปด้านที่หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม
อาการ : มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง ก้อนจะค่อยๆยุบลงไป ศรีษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อ
โดยวิธีดัด(passive stretch)
ให้หันศีรษะเอง (active stretch)
ใชอุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด : ถ้ายืดกล้ามเนื้อไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย
กระดูกสันหลังคด (Soliosos)
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง สะบักสองข้างไม่เท้ากัน ไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่า
ทรวงอกคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้นลึกทำได้ยาก
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอก กระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
การรักษา
กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย
ผ่าตัด
นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ห้อง A
รหัสนักศึกษา 613601094