Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีที่ 3, จากกรณีศึกษา Diagnosis : Pneumonia เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมป…
กรณีที่ 3
ผลการตรวจต่างๆจากกรณีศึกษา
การตรวจร่างกาย
BT = 39-40 °C, RR = 28-36 ครั้ง/นาที (ผู้ป่วยหายใจเร็วกว่าเครื่องที่ settingไว้ โดยเซตไว้ที่ 14 /min), PR = 140-150 ครั้ง/นาที, BP = 90/60-100/60 mmHg,O2 sat = 94-95 %, ฟังเสียงปอด พบ Crepitation sound
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Hb 14 gm%, WBC 20,200 cell/mm3 , Neutrophils 83 %, Monocyte 2 %, Eosinophils 2 %, pH 7.481, PaCO 33 mmHg , PaO2 75 mmHg,HCO3 23.5 mmol/L, Sputum culture : Numerous Acinetobactor baumani
ผลตรวจพิเศษ
Chest X-ray
พบ infiltration both lung
อาการและอาการแสดง
สาเหตุจากทฤษฎี
อาการไข้สูง(อาจจับไข้ตลอดเวลา) หนาวสั่น
หายใจหอบเหนื่อย
ไอมีเสลดขุ่นข้นออกเป็นสีเหลือง สีเขียว สีสนิมเหล็กหรือมีเลือดปน
เจ็บหน้าอกเมื่อหายใจลึกหรือไอ
อ่อนเพลีย
อาจมีอาการซึม ความรู้สึกสับสน อุณหภูมิร่างกายต่ำกว่าปกติ ในผู้สูงอายุ
จากกรณีศึกษา
มีเสมหะ สีเหลืองปนเขียวจำนวนมาก
RR = 40 ครั้ง/นาที
infiltration both lung
มีไข้สูง 39-40 °C
พบ Crepitation sound
สาเหตุ
จากทฤษฎี
1.เชื้อแบคทีเรีย ซึ่งพบเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ที่พบบ่อย Pneumococcus แต่ที่พบได้น้อยแต่ร้ายแรงได้แก่เชื้อ Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
4.เชื้อรา ซึ่งพบได้ค่อนข้างน้อย แต่รุนแรง
5.เชื้อโปรโตซัวเช่น Pneumosystis carini ที่พบในผู้ป่วยโรคเอดส์
3.เชื้อไมโคพลาสมาที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
6.สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าด บุหรี่
2.เชื้อไวรัสเช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส ฯลฯ
จากเคส
มีประวัติโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังประมาณ 5 ปี
สูบบุหรี่ 10 มวนต่อวัน
ติดเขื้อแบคทีเรียดื้อยา Numerous Acinetobactor baumani.
ผู้ป่วย on OET Tube & ventilator Setting CMV mode RR 14 /min TV 500 cc FiO2 0.4 , PEEP 5 cmH2O
พยาธิสภาพ
เมื่อเชื้อจุลชีพเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ร่างกายจะมีการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันให้มาทำลายเชื้อโนคหากทำลายไม่ได้จะทำให้เกิดการอักเสบขึ้น เกิดการทำลายเนื้อปอดสามารถแบ่งออกได้ 3 ระยะ
2.ระยะเนื้อปอดแข็ง(Stage 0f Consolidation)มีเม็ดโลหิตแดงและไฟบรินอยู่ในถุงลมเป็นส่วนใหญ่ทำให้เนื้อปอดสีแดงจัดคล้ายตับสด(Red heptization) ในรายที่มีการลุกลามที่รุนแรง ต่อมาจะมีจำนวนเม็ดเลือดขาวแทนที่เม็ดเลือดแดง ระยะนี้เนื้อปอดจะเป็นสีเทาปนดำ เนื่องจากมีหนอง ทำให้การระบายอากาศในปอดไม่เพียงพอ ทำให้ความดัน O2 ในถุงลมลดลง
ระยะเลือดคั่ง (Congestion) เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรก หลังการติดเชื้อ กลีบปอดที่ติดเชื้อจะมีสีแดงนุ่มและมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจากการคั่งของเลือด มีน้ำเข้าไปในเซลล์ของถุงลม
3.ระยะปอดฟื้นตัว(Stage of Resolution) เมื่อร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้ เม็ดโลหิตขาวสามารถทาลายแบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมด จะมีเอนไซม์ออกมาละลายไฟบริน เม็ดโลหิตขาวและหนองจะถูกขับออกมาเป็นเสมหะมีลักษณะเป็นสีสนิมเหล็กเนื้อปอดมักกลับคืนสู่สภาพปกติได้หรือมีพังผืดขึ้นแทน
จากกรณีศึกษา Diagnosis
: Pneumonia เป็นกระบวนการอักเสบของถุงลมปอดทาให้เนื้อปอดแข็งและมีหนองในถุงลมปอด มักพบในคนที่ไม่แข็งแรง เช่น เด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่เป็นรคทางปอดเรื้อรัง