Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
พัฒนาการตั้งแต่แรกเกิด
1- 2 ปี
เดินโดยจูงมือเด็กทั้ง 2 ข้าง
คว่ำขวดเพื่อเอาของในขวด
เดินข้ามหลบหลีกสิ่งกีดขวาง
ชี้อวัยวะได้ 10 อย่าง
3-5 ปี
เดินเขย่งปลายเท้าได้ 3 เมตร
โดดขาเดียวไปข้างหน้าได้ 2-3 ครั้ง
ก้มลงเก็บของที่พื้นขณะวิ่งได้
3-6 เดือน
พลิกตะแคงตัวได้ หันหน้าตามเสียง
นั่งทรงตัวได้นาน สนใจคนฟังพูด
ชันคอยกศรีษะเมื่อนอนคว่ำ
ความหมาย
กระดูกหัก
อาจจะแตก
โครงสร้างแยกออกจากกัน
หรือบางส่วนอาจจะแค่ร้าว
ข้อเคลื่อน
เกิดการบาดเจ็บ
ส่งผลให้กระดูก หลอดเลือด นำ้เหลือง เส้นประสาท เส้นเอ็น เป็นอันตราย
การเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่
ความแตกต่างกับผู้ใหญ่
periosteum
endosteum
growth plate
เชื่อถือได้ยาก
การบวมของแขน
ischemic changes
การขาดลือดไหลเวียนบริเวณขา เเขน
จากการใส่เฝือก ต้องระมัดระวัง
เกิดภาวะ volkman's ischemic contracture
การเจริญเติบโตของเด็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อน
กระดูกหักที่พบบ่อย
Fracture of femur
เด็กผู้ชายมากกว่า
เด็กจะปวดมากตรงที่หัก
รักษาโดย Gallow's
มากกว่า 3 ปี ทำ Russel's traction
Fracture of clavicl
ทารกอาจจะข้อไหลติด
เกิดกับเด็กอายุต่ำกว่า 10 ปี
อาการ
crepitus
บวม ปวด ข้างที่เป็น
pseudoparalysis
การรักษา
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี
ใช้ผ้าสามเหลี่ยมพันคอ
ห้อยแขนงอ 90 องศา
นาน 2-3 week
ทารกและเด็กเล็ก
ตรึงแขน มัดข้อศอกงอ 90 องศา
นาน 10-14 วัน ระวังการอุ้มเด็ก
Transient sudluxation of radial head
ออกมาจากข้อ radio-humeral
การเคลื่อนหลุดของกระดูกเรเดียส
ภยันตรายต่อข่ายประสาท
กาวินิจฉัย
มีการเคลื่อนไหลได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
การพักฟื้นตัวของเส้นประสาท
ไม่ต้องรับการผ่าตัด
สาเหตุ
เกิดจากประสาทถูกดึงยึด
การคลอดท่าก้น
การคลอดติดไหล่
ข่ายประสาท brachial plexus
กระดูกปลายแขนหัก
บริเวณปลายล่างๆ
ส่วนล่าง 1/3 ของลำกระดูก
Supracondylar fracture
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้น
โรคแทรกซ้อน คือ Volkman's ischemic contracture
ในรายที่หักแบบ greenstick
ใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint
เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่อ
Fracture of humerus
ทารกแรกเกิด
ในรายที่คลอดติดไหล่
ผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าเกี่ยวออกมา
เด็กโต
เกิดการล้มเหลวถึงข้อศอก
เคลื่อนมากจะแหวนด้วย traction
อาจจะทำ skin traction, skelrtal traction
การพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ORIF
ในรายที่กระดูกหักมาก
plate
screw
nail
wire
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่ใช้โลหะยึดไว้
traction
Dumlop's traction
บางกรณีใช้ดึงเพียงเพื่อยุบบวม
ใช้กับรายที่มี Displaced suparcondylar fracture
Skin traction
อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป
ทำให้เกิด foot drop
รายที่มี facture shaft of femur
Russell's traction
มี fracture shaft of femur
บริเวณ supracondyla region of femur
เกิดปัญหาการพัน sling ที่คล้องใต้ขา
Over head traction
รักษากระดูกหักต้นแขน
มีอาการบวมไม่สามารถใส่เฝือกได้
การเข้า traction 90 องศา
ฺBryant's traction
แรกเกิด-2ปี
กระดูกต้นขาหัก
นำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
เข้าเฝือกปูน
ประเมินภายหลังเข้าภายใน 24 ชั่วโมง
ยกแขนเข้าเฝือกให้สุูง
เตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
โรคคอเอียงแต่กำเนิด
อาการ
ศรีษะเบี้ยวไม่สมดุล
ก้อนกล้ามเนื้อข้างที่คอเอียง
แลัจะค่อยๆยุบไป
การรักษา
passive strcth
active stretch
orthosis
การผ่าตัด
ผ่าตัด bipolar release
อายุที่เหมาะสมคือ 1-5 ปี
ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย
การวินิจฉัย
ลักษณะของผู้ป่วย
ภาพรังสีกระดูกคอ
ตรวจร่างกาย
Soliosis
พยาธิ
การอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้การเจริญเติบโตน้อย
ความผิดปกติของกระดูกสันหลัง
การรักษา
ลดความปวด
ลดความพิการ
ป้องกันไม่ให้โรคเกิดมากขึ้น
อาการ
การะดูกโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
สะบัก 2 ข้างไม่เท่ากัน
การวินิจฉัย
สังเกตความพิการ
X-ray
การผ่าตัด
การพยาบาล
ต้องนอนในห้องอภิบาลหลังผ่าตัด
อธิบายการพลิกตะแคงตัวพร้อมกับ logrolling
ให้ความรู้
นอนบนเตียง 2 สัปดาห์
ป้องกันการเกิดเเผลกดทับ