Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน(Ricket)
เกิดจากการขาด vitamin D โรคไต ทำให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก กระดูกหักง่าย ผิดรูป
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
2.ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
3.โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
4.ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการและอาการแสดง : กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด กระดูกศีรษะใหญ่กว่าปกติ ผมร่วง ฟันขึ้นช้า ขาโก่ง ขาฉิ่ง
การรักษา
1.แบบประคอบประคองอาการ
2.การรักษาสาเหตุ ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
Bone and Joint infection การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ ต้องมีอาการ 5 ใน 6
T > 38.3 ํC
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆ
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
มีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว เช่น femer tibia humerus ติดเชื้อจากแบคทีเรีย เชื้อรา
การวินิจฉัย
ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็ย
เด็กโตบอกตำแหน่งที่ปวดได้
ปวดบวมร้อน เฉพาะที่ ปวดมากขึ้นถ้ากดบริเวณนั้น
ESR,CRP มีค่าสูง
การรักษา : ให้ยาปฏิชีวนะ ผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ : เชื้อเข้าสู้ข้อ จากการทิ่งแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง เชื้อส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
มีไข้ อักเสบ ปวดบมแดงภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ
ผล lab เจาะดูดน้ำในข้อ ย้อม gram stain
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ ผ่าตัดได้แก่ Arthrotomy anf drainage เพื่อระบายหนอง
Tuberculuous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อ ตำแหน่งที่พบบ่อย ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ : เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดนการหายใจ ไอ จาม
อาการและอาการแสดง
กระดูกจากบางลลงหรือแตก
นอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนอง
ถ้าเชื้อเข้ากระดูกสันหลัง เชื้อจะทำบายกระดูกสันหลัง
ลักษณะทางคลินิก : อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดข้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
ผ่าตัด ตรวจชิ้นเนื้อ ระบายหนองออก แก้การกดทับเส้นประสาท
Club Foot (เท้าปุก)
มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
การวินิจฉัย
Positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงปกติ ผิดรูปไม่มาก เด็กสามารถกระเท้าขึ้นเหมือนปกติได้
Idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายเองได้ต้องรับการรักษา
การรักษา
1.การดัดและใส่เฝือก เปลี่ยนเฝือกทุก 1-2 weeks.
การผ่าตัด
1.ผ่าตัดเนื้อเยื่อ ทำให้อายุ < 3ปี คลายเนื้อเยื่อ subtalar joint และยึดเอ็นที่ตึง
2.ผ่าตัดกระดูก ทำให้อายุ 3-10 ปี ตกแต่งกระดูกให้ใกล้เคียงปกติ
3.ผ่าตัดเชื่อมกระดูก อายุ 10 ปีขึ้นไป ทำให้ subtalar และ midtarsal joint เชื่อมแข็ง
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความแบน
อาจมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้า pt. จะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
แบนรุนแรอาจมีอาการปวดน่อง เข่า ปวดสะโพก
สาเหตุ : พันธุกรรม การเดินผิดปกติ เอ็นข้อเท้ามีการฉีกขาด เกี่ยวกับโรคสมองหรือไขสันหลัง
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง การเคลื่อนไหวผิดปกติ มีปัญหาการควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ
การรักษา
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด ฝึกทักษะการสื่อสาร
ลดความเกร็งโดยใช้ยา ยากิน diazepam ยาฉีด Botox
การผ่าตัด ลดความตึงของกล้ามเนื้อ การย้ายเอ็น ผ่าตัดกระดูก
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การรักษา ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา
Omphalocele
ความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง มีเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และ amnion ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมานอกช่องท้อง
การรักษา
Conservative ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ เหมาะสำหรับใช้รายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่ อาจต้องซ่อมแซมเมื่อเด็กโตขึ้น
Operative
เย็บผนังหน้าท้องปิดเลย ทำเมื่อถุงมีขนาดเล็ก อวัยวะไม่มาก
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastrochisis มีผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน
เกิดแต่กำเนิด เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord ด้านข้างสายสะดือ ก่อนทารกคลอด
การดูแล
ทำแผล สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ห้อง A
รหัสนักศึกษา 613601094