Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด, image - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังคลอด
ปฏิสัมพัน์ระหว่างมารดาและทารก
การสัมผัส (Touch)
โดยจะเริ่มสัมผัสบุตรด้วยการใช้นิ้วสัมผสัแขน ขา จากนั้นจะบีบนวดสัมผัสตามลำตัว ทารกจะมีการจับมืดและดึงผมมารดาเป็นการตอบสนดง
การประสานสายตา (Eye to eye contact)
พัฒนาการด้าน ความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น มารดาจะรู้สึกผูกผันใกล้ชิด มากขึ้นเมื่ดทารกลืมตาและสบตาตนเดง
การใช้เสียงแหลมสูง (Highpitched voice)
การตอบสนดงเริ่มทันทีที่ทารกเกิด มารดาจะรอฟังเสียงทารกร้อง ครั้งแรก เพื่อยืนยันภาวะสุขภาพของทารก
การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด (Entrainment)
ทารกจะเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นจังหวะสัมพันธ์กับเสียงพูดสูงต่ำขดงมารดา
การให้เวลาและความมั่นคง (Time giver)
มารดาจะช่วยทารกให้สร้างจังหวะชีวภาพได้ โดยขณะที่ทารกร้องไห ้มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก ทารกจะคุ้นเคยตั้งแต่ในครรภ์
การรับกลิ่น (Oder) มารดา
มารดาจำกลิ่นกายขดงทารกได้ตั้งแต่แรกคลอด และแยกกลิ่นทารกออกกจากทารกอื่นได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด ส่วนทารกสามารถแยกกลิ่นมารดา และหันเข้าหากลิ่นน้ำนมมารดาได้ภายในเวลา 6 –10 วันหลังคลอด
การให้ความอบอุ่น (Heat)
ห่อตัวทารกและนำทารกให้มารดาโดบกอดทันที ทารกจะไม่เกิดการสูญเสียความร้อน
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม(T and B Lymphocytes)
ทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันในนมแม่ ได้แก่T lymphocyte, Blymphocyte และ Immunoglobulin A ช่วยป้องกันและทำลายเชื้ดโรคในระบบทางเดินอาหาร
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (bacterianasal flora)
โดบกอดทารกจะมีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ (normal flora) ของมารดาสู่ทารก เกิดภูมิคุ้มกันช่วยป้ดงกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ปัจจัยด้านมารดา
ปัจจัยด้านทารก
ปัจจัยด้านบิดา
ปัจจัยด้านโรงพยาบาล
บทบาทของพยาบาล
ส่งเสริมให้มารดามีโอกาสสัมผัสกับบุตรในระยะ sensitive periodคือในช่วง 45 นาที แรกหลังคลอด
จัดให้มารดาอยู่กับบุตรโดยเร็ว (Rooming in) เพื่อให้มารดาได้เรียนรู้ที่จะเลี้ยงดูเรียนรู้ พฤติกรรมของทาร
ให้กำลังใจ ให้คำปรึกษา แนะนำแก่มารดาเกี่ยวกับการดูแลบุตร เช่นการอุ้ม พดูคุย ปลอบ
ตอบสนองความ ต้องการของมารดาทั้ง ทางด้านร่างกายจิตใจ
กระตุ้นให้มารดามีปฏิสมัพนัธ์ดีกับบุตร ชี้ให้เห็นส่วนดีของทารก
เป็นแบบแผนในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก เช่น การพดูคุย การประสานสายตา การสมัผัส การดูแลทารกให้แก่มารดา
จัดให้บิดามารดาและทารกมีโอกาสอยู่ ด้วยกันตามลำพัง
ติดตามประเมินพฤติกรรมสร้างสัมพันธภาพระหว่าง มารดากับทารกและ ระหว่างบิดากับทารกอย่างต่อเนื่อง
ส่งเสริมการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 1การวางแผนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ขั้นที่ 2การยืนยันการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 3การยอมรับการตั้งครรภ์
ขั้นที่ 4การรับรู้การเคลื่ดนไหวขดงทารกในครรภ์
ขั้นที่ 5การยดมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลคนหนึ่ง
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
ขั้นที่ 6การสนใจดูแลสุขภาพตนเดงและทารกในครรภแ์ละการแสวงหาการคลดดที่ปลอดภัย
ขั้นที่ 7การมองดูทารก
ขั้นที่ 8การสัมผัสทารก
ขั้นที่ 9การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
การประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
ความสนใจในการดูแลตนเองและทารก
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของทารก
พฤติกรรมของมารดาและทารกที่แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ (Lack of attachment)
ไม่สนใจมองบุตร สีหน้าเมินเฉยหรือหันหน้าหนี
ไม่ตอบสนองต่อบุตร เช่น ไม่สัมผัส ไม่ยิ้ม ไม่อุ้มกอดทารก
พูดถึงบุตรในทางลบ
แสดงท่าทางหรือคำพูดที่ไม่พึงพอใจขณะดูแลบุตร
ขาดความสนใจในการซักถามเกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรและการเลี้ยงดูบุตร
บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
• ยอมรับการตั้งครรภ์
• ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
• การปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
• ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
• การกระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
• สร้างบรรยากาศให้เกิดความไวว้างใจ
• ลดความวิตกกังวลของผู้คลอด
• ให้ข้อมูลเป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดและครอบครัว
• *ส่งเสริมให้การคลอดผ่านไปดย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
• *ส่งเสริมให้มารดาสัมผัสโดบกอดทารกทันทีหลังคลอดในระยะ sensitive period
• *Rooming inโดยเร็วที่สุด
• ให้คำแนะนำในการดูแลบุตร
• ตอบสนองความต้องการของมารดา
• กระตุ้นให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
• เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพันธภาพกับทารก
• ให้มารดา ทารก บิดา ได้ดยู่ด้วยกันตามลำพัง