Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาทและกล้ามเนื้อและกระดูก
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาของประบบประสาท
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
การตรวจวิเคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรคไข้กาฬหลังแอ่น
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ าเลือด
Meningococcemia
Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็นอาการน ามาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง
Chronic Meningococcemia พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง
Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทำงาน อาจช็อคถึงเสียชีวิตได้
Meningitis
มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ ลงอย่างรวดผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้ าเลือดออกตามผิวหนัง
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Hydrocephalus)
อาการส าคัญ
ศีรษะโตแต่ก าเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ าไขสันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ าไขสัน
หลัง post meningitis
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้ าไข
สันหลัง
อาการทางคลินิก
1.หัวบาตร(Cranium enlargement)
2.หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับGrowth curve ปกติ
3.รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
4.รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง (Fontanelle bulging)
5.หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ
สร้างน าหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน าหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
1.การท างานผิดปกติของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt malfunction) มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt infection)Epidermidis
3.การอุดตันสายระบายน้ าในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
4.ภาวะระบายน้ าในโพรงสมองมากเกิน(Overdrainage)
5.ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
6.ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง(Intraventricular hemorrhage)
7.ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
การรักษา IICP
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของน้ำไขสันหลังกลับสู่หลอดเลือดดำได้ดีขึ้น
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็วซึม ไม่รู้สึกตัว
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว เกิดจากเชื อ นิวโมคอคคัส H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
อาการและอาการแสดง
มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการคอแข็ง
การประเมินสภาพ
ตรวจพบ Kernig sign และ
Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน, Meningeal Irritation
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผากขาอ่อน
แรงทั้งสองข้างปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน
Spina bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
Spina bifida occulta ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral archesไม่รวมตัวกัน
Spina bifida cystica ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
Meningocele ก้อนหรือถุงน าประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน าไขสันหลัง
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele : กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ: มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ได้ยากันชัก
ประเภท Valporic acid
การตรวจร่างกาย: แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูก
สันหลัง
การตรวจพิเศษ: การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
ผิดปกติ
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิดเพื่อลดการติดเชื้อ
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
โรคลมชัก
ทราบสาเหตุ: ติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง น้ำตาลในเลือดต่ำ
ไม่ทราบสาเหตุ: จากความผิดปกติของ Neurotransmission ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของยีน
อาการและอาการแสดง
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชักมีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ (Seizure prodromes)
อาการเตือน (Aura)
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลงส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง มีอาการได้แก่ สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
1. Postical paralysis หรือ Todd’s paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
อาการเกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
อาการชักกระตุก (Clonic seizures)
อาการชักเหม่อ (Absence)
อาการชักเกร็ง (Tonic seizures)
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
2. Automatism
การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชักมักเป็นการเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมที่มีความสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ ( CP : Cerebral palsy )
ความบกพร่องของสมอง ท าให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวการทรงตัว ชนิดของสมองพิการ
1. กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia: มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplegia: มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia: ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis): การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น กล้ามเนื ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy: มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัว
น้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type: หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว
การทรงตัวผิดปกติ
การประเมินสภาพ
ประเมินร่างกาย: เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติพัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
ซักประวัติ: มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด เช่น เป็นหัดเยอรมัน คลอดท่าก้น เด็กมีพัฒนาการช้ากว่าวัย ตัวเกร็งแข็ง
ภาวะชักจากไข้สูง
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่นการติดเชื้อในระบบทางเดินอาหารม, ทางเดินปัสสาวะ, ทางเดินหายใจ
อาการและการแสดง
เด็กจะมีอาการชักจากอุณหภูมิสูง 39 องศา อาการจะเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure (primary febrile seizure )
Complex febrile seizure
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ เช่น มีไข้, การติดเชื้อ, ประวัติการชัก
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก
อาการสำคัญทางระบบประสาท
อาการทางตา
รูม่านตา
การกลอกตา
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว
ระดับความรู้สึกตัว
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
การประเมินทางด้านร่างกาย
การซักประวัติ
การเจ็บป่วยหลังคลอด
อารมณืของครอบครัว การเลี้ยงดู
การคลอดของเด็ก
การตรวจร่างกาย
สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปากและฟัน
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
Babinski's sign
Brudzinski's sign
Kernig' s sign
Tendon reflex
Muscle tone
การประเมินระดับการรู้สติ
การประเมินด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
ความเครียดและการเผชิญความเครียด
ระบบการช่วยเหลือและสนับสนุน
การรับรู้ ความคิดและเชาว์ปัญญา
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาของกล้ามเนื้อ
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่ าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ด คือ การบิดเท้าเข้าข้างใน
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง :
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral
palsy
สาเหตุของโรค
เกิดขึ้นได้ทั้งก่อน/ระหว่าง /หลังคลอด
ก่อนคลอด
มีการติดเชื้อ
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ เช่น เบาหวาน ความดัน
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด: คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน ,ขาดออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
2.Double hemiplegia คือ มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้างเพียงแต่ความรุนแรงของแต่ละข้างไม่เท่ากัน
Hemiplegia คือพวกที่มีspasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
quadriplegia หรือ otal body involvement พวกนี้มี involvement ของทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆกัน
Diplegia คือ involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง
อื่นๆ เช่น monoplegia, paraplegia, triplegia
Mixed CP เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสามค
ความพิการทางสมอง ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ การขยับแขนขา ลำตัวใบหน้า ลิ้น รวมถึงการทรงตัวที่ผิดปกติ
การรักษา
การให้การดูแลรวมถึงการให้กำลังใจ
การรักษาอื่นๆ เช่น การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่
การผ่าตัด เช่น การย้ายเอ็น
2.ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ เช่น กายภาพบำบัด, อรรถบำบัด
Club foot
รูปร่างของข้อเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
สาเหตุ
แบบทราบสาเหตุ:
1.2 teratologoc clubfoot เป็ นชนิดที่มีความแข็งมากพบใน Syndrome หลายชนิด เช่น arthogryposis multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็ นตั้งแต่เกิด / ภายหลังเช่น ใน cerebral palsy
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
แบบสาเหตุ: ยังสามารถสรุปได้แน่ชัด เกิดจาก gene และปัจจัยเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดรูป ความสัมพันธ์ของกระดูกในเท้าผิดปกติ พบ navicular bone อยู่ medial และ Infrior ต่อกระดูก talus calcaneus bone หมุนเลื่อนไปทาง medial ซ้อนอยู่ใต้ talus bone และพบกระดูก metatarsal bone บิดเข้า medial
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษะรูปร่างเท้า "เท้าจิกลงเอียงเข้าด้านใน"
positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มาก สามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องรับการรักษา
การรักษา
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติให้มากที่สุด
สามารถใช้ฝ่่าเท้ารับน้ำหนักได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
การดัดและใส่เฝือก
: อาศักหลักการัดให้รูปร่างเท้าปกติ
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
(subtalar soft tissue release): ทำในอายุ <3 ปี
การผ่ากระดูก
(osteotomy): ทำในอายุ 3-10 ปี
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
(triple fusion): ทำในช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป
มะเร็งกระดูก(Osteosarcoma)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
: น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน การเคลื่อนไหวของต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
: MRI , CT เพื่อดูการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การซักประวัติ
: ระยะเวลาที่มีก้อนเนื้องอก การปวด การเคลื่อนไหว
อาการและอาการแสดง
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่ผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้
น้ำหนักลด
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การพยากรณ์ของโรค
ถ้าสามารถตัดขาออกได้ทั้งหมดเป็นการพยากรณ์โรคได้ดีที่สุด
ถ้ามีการเเพร่กระจายของโรคการพยากรณ์จะไม่ดี
ตำแหน่งของโรคที่มีการพยากรณ์ของโรคที่ดีที่สุด คือ ส่วนปลายของกระดูกต้นขา ไม่ดีคือบริเวณกระดูกกลางตัว
การรักษา
เคมีบำบัด
รังสีบำบัด
การผ่าตัด
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีบำบัด
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอนบริเวณแขน/นาที่ถูกตัด
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษาพยาบาล
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อพบในเด็กร้อยละ 4 ของการติดเชื้อวัณโรคปอด ตำแหน่งที่พบบ่อย: ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่่ปอดโดยการหายใจจากการไอจามของผู้ป่วย เชื้อเจริญเติบโตและเเพร่ผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่างๆ
อาการและอาการแสดง
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็กจะิ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1-3 ปี ที่กระดูกรอยโรคที่ ี่metaphysis ของ long bone ซึ่งมีเลือดมาเลี้ยงมาก กระดูกถูกทำลายมากขึ้น กระดูกก็จะบางลงและแตก
การวินิจฉัย
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำลด มีไข้ต่ำๆ ต่อมน้ำเหลืองโต มีอาการปวดตามข้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP , ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล+
การรักษา
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง
ให้ยาต้านวัณโรค
ภาวะแทรกซ้อนทางกระดูกข้อ
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรืออัมพาต(Pott’s paraplegia) ปวดข้อ
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีโครงสร้างหน้าท้องที่ไม่สมบูรณ์
ลักษณะทางคลินิก
การตรวจก่อนคลอด การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์มารดาสามารถวินิจฉัยภาวะ omphalocele ได้ ภายหลังคลอดพบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง omphalocele ติดอยู้กับผนัง อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
1. Conservative
ทำโดยใส่สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution) การรักษาด้วยวิธี conservative นี้
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
2. Operative
การเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
การปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (staged repair)
primary fascial closure มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก และมีอวัยวะอยู่ภายใไม่มาก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ:
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือ แพร่กระจายจากบริเวณข้างเคียง
การวินิจฉัย
1.ลักษณะทางคลินิคมีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ (joint aspiration) มาย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR , CRP สูงขึ่นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อม่าก
Bone scan / MRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage มีข้อบ่งชี้เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการทำลายข้อ
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกท าลาย ท าให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการท าหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกท าลาย (joint destruction)
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด (avascular necrosis)
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกัน (Gastroschisis)
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าทารกจะมีสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆ กัน สามารถมองเห็นลำไส้หรือขดตับผ่านผนังถุง
:
การดูแลรักษาพยาบาล
การคลอดและการนำส่งโรงพยาบาล
การดูแลทั่วไป
การอาบน้ำ ไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การดูแลเฉพาะที่
การทำแผล: สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
การเตรียมการก่อนผ่าตัด
Problem
Hypothermia
Hypoglycemia, Hypocalcemia
Respiratory distress
การดูแลหลังผ่าตัด
Hypothermia :
ต้องให้เด็กอยู่ในตู้อบ (incubator) ปรับอุณหภูมิตามตัวเด็ก
Hypoglycemia, Hypocalcemia
: สังเกตว่าเด็กจะมี tremor, cyanosis หรือ convulsion รายที่มี hypocalcemia อาจจะเกิด
periodic apnea
Respiratory distress
: ใส่ endotrachial tube และให้muscle relaxant 1-2 วันหลังผ่าตัด
General care
จัดท่านอนหงาย , สังเกตการหายใจ การขับถ่าย ตรวจดูว่ามี discharge ออกมาจากแผล
Fluid and nutrition support
-ถ้าเป็น omphalocele ให้ IV fluid เป็น 10%DN/5 เป็น maintenance
-ถ้าเป็น gastroschisis มี I nsensible loss เฉลี่ยdaily requirment 200 ml./kg./day
Peripheral parenteral nutrition: เริ่มให้ได้ตั้งแต่เด็ก stable , หลังผ่าตัด 1 วัน
Enteral nutrition: จะอนุญาตให้กินได้เมื่อเด็ก stable ประมาณ 1 สัปดาห์ เริ่ม test feed ด้วย น้ำสะอาด หรือ5% D/W5 ml. ต่อมื้อ วันละ 8 มื้อ
Antibiotic prophylaxis
ให้ ampicillin และ gentamicin ประมาณ 5 วัน ถ้าเด็กไม่มีปัญหาแผลติดเชื้อ
Wound care
ถ้าเป็น omphalocele ใหญ่ให้ดูแลทำความสะอาดแผลกว่าจะเริ่มดีขึ้น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลหลังการผ่าตัด
อาจเกิดภาวะหายใจลำบากเนื่องจากการแรงกดถุงลำไส้ให้เคลื่อนเข้าช่องท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืด หรืออาเจียนเนื่องจากลำไส้บวมหรือมีการอุดตัน
อาจเกิดภาวะการที่ติดเชื้อที่แผลผ่าตัด
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
แนวทางการพยาบาล
การพยาบาลก่อนการผ่าตัด (Nursing preoperative care)
เช็ดทำความสะอาด ลำไสส่วนที่สกปรก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
อาจภาวะติดเชื้อของแผลจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดอาการท้องอืด หรืออาเจียนเนื่องจากมีลมในกระเพาะอาหารและลำไส้
อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ซึ่งนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่ำ
อาจเกิดการขาดสารน้ำและอิเลคโตลัยท์เนื่องจากงดอาหาร น้ำ และจากการที่มีลำไส้ออกมาอยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดภาวะ Hypothermia เนื่องจากทารกส่วนใหญ๋น้ำหนักน้อย หรือคลอดก่อนกำหนด
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน –3 ปี จากการขาดวิตามินดี ความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ทำให้เกิดความผิดปกติของกระดูก
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้ ดูกแคลเซียมได้น้อนลง
โรคไตบางชนิดที่ไม่สามารถดูดกลับแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia)
อาการและอาการแสดง
ในเด็กความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง ใช้หลักรักษากรดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น การให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
การให้วอตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้ำหนักสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียม
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis)ในเด็ก ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องอาจทำให้พิการได้
การวินิจฉัยติดเชื้อที่ข้อ
อุณหภูมิร่างกาย> 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับ ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่มีพยาธิสภาพ
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
อุบัติการณ์: พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด เช่น Femur
สาเหตุ: เชื้อเเบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแมงจากภายนอก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ: มีอาการปวด ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่่างกาย: มีปวดบวม แดง ร้อน เฉพาะที่ บริเวณที่มีพยาธิ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ: ผล CBC พบ Leucocytosis, ESR, CRP มีค่าสูงขึ้น
การตรวจทางรังสี: Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนการเจริญเติบโตของกระดูก ทำให้มีการโก่งผิดรูปของกระดูก