Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็ก เมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวนงลักษณ์…
การดูแลเด็ก
เมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เด็ก
ความหมาย
ผู้ซึ่งอายุไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
บุคคลอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์
คนที่มีอายุยังน้อย
บุคคลที่อายุไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์
ความหมายด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ช่วงวัย
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากกว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน อายุ 6-12 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
20 พฤศจิกายน ของทุกปี
สิทธิในการมีชีวิต
เด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย สิทธิที่ติดตัวตั้งแต่เกิด และต้องปะกันอย่างเต็มที่
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
การทารุณกรรมทุกรูปแบบ รวมถึงเด็กที่ลี้ภัยจากอันตรายเข้ามาในประเทศของรัฐภาคี
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
เด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 ปี
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำ รวมทั้งสิทธิในการปกป้องเรียกร้อง ผลกระทบที่เกิดกับชีวิตความเป็นอยู่ของเด็ก
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
ทำหน้าที่ดำเนินการและให้คำปรึกษาแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่อง การสงเคราะห์ คุ้มครองสวัสดิภาพ และส่งเสริมความประพฤติเด็ก
การปกป้องคุ้มครองเด็ก
กฎหมายกำหนดหน้าที่ของผู้ปกครองและบุคคลที่เกี่ยวข้องให้ต้องปฏิบัติต่อเด็กที่เหมาะสมไว้อย่างชัดเจน และผู้ฝ่าฝืนย่อมมีโทษทั้งทางปกครองและทางอาญา
ระยะการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ในทันทีทันใด
ระยะเรื้อรัง (chronic)
ระยะที่รักษาไม่หายขาด
ระยะวิกฤต (Crisis)
ระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว การดูแลเน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกาย จิตใจ
ระยะสุดท้าย/ใกล้ตาย (Death)
ระยะที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต ภายใต้การรักษาด้วยยา การดูแลอย่างใกล้ชิด
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0
ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา (อายุ 18 เดือน-7 ปี)
ประเภท 1
ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภท 2
สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม (อายุ 7-11 ปี)
ประเภท 3
การปนเปื้อน
ประเภท 4
ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม (อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่)
ประเภท 5
การเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภท 6
เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขั้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
อายุ > 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายที่เกิดขึ้นในร่างกาย
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าการตายแล้วสามารถกลับคืนได้ (Reversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ
วัยเรียน
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง เข้าใจความหมายของความตาย เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจว่าตัวเองก็อาจจะต้องตายในวันหนึ่ง
สนใจพิธีการในงานศพ
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอีนเป็นที่รัก
วัยรุ่น
วัยที่มีความเป็นส่วนตัว เป็นตัวของตัวเองมาก ต้องการจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับตัวเองด้วยตัวเอง ไม่ต้องการบังคับ หรือควบคุม
มองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุด
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ภาวะวิกฤต ทำให้เกิดความเครียด ส่งผลต่อการปรับตัว ซึ่งขึ้นอยู่กับ
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไป เช่น กินได้น้อยลง ถูกจำกัดกิจกรรม เจ็บปวด
การเจ็บป่วยที่ทำให้ร่างกายพิการ จะมีผลกระทบต่อความผูกพันระหว่างมารดาและทารก เด็กต้องอยูโรงพยาบาล เด็กขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา อาจส่งผลต่อพัฒนาการของเด็ก
วัยเดิน
การเจ็บป่วยเฉียบพลัน เรื้อรัง อาจทำให้ต้องพรากจากบิดามารดาซ้ำแล้วซ้ำอีก เพราะเด็กยังไม่เข้าใจเหตุผล อาจทำให้เด็กคิดว่า"ถูกทอดทิ้ง"
วัยก่อนเรียน
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
เด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็น "การถูกลงโทษ"
วัยเรียน
หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา และการที่จะทำอะไรได้เช่นเดียวกับเพื่อนกลุ่มเดียวกัน
รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยรุ่น
ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลิกภาพ
แนวทางการดูแลด้านจิตสังคม
การเตรียมเด็กและครอบครัวก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ป้องกันและลดผลกระทบจากการแยกจาก
แนะนำให้บิดา มารดา ผู้ดูแลอยู่เฝ้า
หาสิ่งที่คุ้นเคยมาให้เด็ก
ยอมรับพฤติกรรมของเด็ก
ให้เด็กได้ระบายความเครียด
ลดผลกระทบของปฏิกิริยาการสูญเสียการควบคุม
ส่งเสริมให้เด็กเคลื่อนไหวโดยอิสระ
ให้เด็กทำกิจวัตรประจำวันตามปกติ
ส่งเสริมให้เด็กมีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการรักษาพยาบาล
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสม
ปฏิกิริยาของบิดามารดา
การปฎิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สำคัญ
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
ความร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
หลักการดูแลเด็ก
เคารพและตระหนักว่าครอบครัว คือ ส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง และไม่ลำเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสม ในลักษณะของการสนับสนุน
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของบุคคล และครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติ วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้ และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
ปฎิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ความตาย
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลีนและระยะวิกฤต
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้รุนแรงมาก ร้องตลอดเวลา จะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น
ระยะสิ้นหวัง (despair)
แสดงออกโดย อาการโศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ้ง แยกตัวอย่างเงียบๆ ร้องไห้น้อยลง ท่าทางอ่อนเพลีย
ระยะปฏิเสธ (denial)
เด็กหันกลับมาสนใจ สิ่งแวดล้อม รอบตัว เหมือนว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เพียงเด็กเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน pain ในเด็ก
การถามเกี่ยวกับ
ความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด
ลักษณะการเจ็บปวด
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
ผลกระทบต่อความปวด : หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
CRIES Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS
ใช้กับเด็กอายุ 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13 คะแนน
4 = ไม่ปวด
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
FLACC (Face:Leg: Activity: Cry : Consolability)
ใช้กับเด็ก 1 เดือน - 6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10 คะแนน
การแปรผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
Faces scale
Numeric rating scales
หลักการประเมินความปวด
ประเมินก่อนการให้การพยาบาล และหลังให้การพยาบาล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
เด็กเล็ก,ผู้สูงอายุ,ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง หรือคำถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้า เสียใจ
บทบาทพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจ และบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด หรือสังเกตพฤฤติกรรม และผลกระทบที่เกิดจากความปวด
นางสาวนงลักษณ์ อรรถสวัสดิ์ รุ่น 36/1 รหัสนักศึกษา 612001053 เลขที่ 52
อ้างอิง : วิภารัตน์ ยมดิษฐ์. (2563). เอกสารประกอบการเรียน บทที่ 1 เรื่อง การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี. สุชาดา เสตพันธ์.การพัฒนาการประเมินความปวดในผู้ป่วยเด็ก โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์[อินเตอร์เน็ต]. สืบค้นเมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2563. จากเว็บไซต์
https://www.sunpasit.go.th/km/portfolio/35b9d77d4b5200b65862a560c6905a39.pdf