Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการวิจัยทางระบาดวิทยา, น. ส. ธิดารัตน์ จงใจมั่น รหัสนักศึกษา…
การออกแบบการวิจัยทางระบาดวิทยา
ขั้นตอนการวิจัยทางระบาดวิทยา
การทดสอบเครื่องมือสำหรับงานวิจัยเเละศึกษานำร่อง
เครื่องมือวิจัย
ลักษณะคำตอบเเละข้อมูลที่ได้
ทราบข้อบกพร่องต่างๆ
ดูความเชื่อถือ
ระยะเวลาที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
วัดได้ถูกต้องหรือไม่
การศึกษานำร่อง
ปรับปรุงขบวนการวิจัย
ค้นหาปัญหาและข้อบกพร่อง
ดูความเป็นไปได้
การจัดทำแผนดำเนินการ
ระยะที่สาม:การแปลผลและเขียนรายงาน
แปลผลแบ่งเป็นหมวด
เขียนรายงานผล
นำผลของการสำรวจมาหาผลสรุปรวม
เขียนสรุปรวมพร้อมอภิปรายผลและเสนอแนะ
ระยะที่สอง:การวิเคราะห์ข้อมูล
จัดทำคู่มือการลงรหัส
ลงรหัสที่สำรวจมา
บันทึกลงแฟ้มข้อมูล
ประมวลผลข้อมูล
ระยะเเรก:รวบรวมข้อมูล
รวบรวมเเละตรวจสอบข้อมูล
สุ่มตัวอย่างหมู่บ้าน
แบบสอบถาม
ติดต่อเจ้าหน้าที่
ทำบัญชีรายชื่อ
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อโครงการวิจัย ควรตั้งให้กระทัดรัดได้ใจความ
สาขาวิชาการ
ชื่อผู้วิจัยหลัก,วิจัยร่วม
ผลงานวิจัยอื่นๆที่ตีพิมพ์เเล้ว
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
แผนการดำเนินงาน
อุปกรณ์ที่ใช้ในงานวิจัย
ประโยชน์ที่จะใช้ในการวิจัย
การกำหนดเวลา
คำชี้เเจงอื่นๆ
การสุ่มตัวอย่าง
การสุ่มแบบเป็นชั้นพวก ข้อดี จะได้กลุ่มตัวอย่างที่ดี แต่ไม่ควรแบ่งกลุ่มย่อยมากเกินไป
การสุ่มแบบเป็นระบบ นิยมใช้กันมาก เพราะง่าย รวดเร็วตรวจสอบง่าย
การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย สุ่มโดยการจับฉลาก ข้อดี: ง่าย สะดวก ควรใช้กับกลุ่มที่มีความคลายคลึงกัน ข้อเสีย: ไม่เหมาะกับกลุ่มสมาชิกใหญ่ที่มีความแตกต่างกันมาก
การสุ่มแบบกลุ่มตัวอย่าง มีประโยชน์มากในกรณีที่ไม่สามารถจักทำบัญชีรายชื่อ
การกําหนดวัตถุประสงค์
ควรระบุไว้อย่างชัดเจนสามารถวัดได้
ความมุ่งหมายที่ผู้วิจัยต้องการ
เป็นแนวทางในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล
รวบรวมเอกสาร ตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือ
รวบรวมจากภาคสนาม การสังเกต ส่งแบบสอบถาม สัมภาษณ์ การตรวจ
การตั้งสมมติฐาน
คาดคะแนคําตอบโดยอาศัยประสบการของผู้วิจัย
การตั้งสมมุติฐานที่ดีประกอบด้วย
กำหนดแนวคิดไว้ชัดเจน
มีลักษณะจำเพาะเจาะจง
ตัวแปรที่เป็นเหตุและเป็นผล
ทดสอบได้
ใช้เป็นแนวทางในการค้นคว้า
อาจเปนจริงหรือไม่ก็ได้
การวิเคราห์ข้อมูลเเละตีความ
การตีความข้อมูล
การพิจารณาตัวแปล
เปรียบเที่ยบผลการวิจัยเเละสรุปผลงานวิจัยอื่น
การอธิบายและค้นหาความหมายของข้อมูล
ระบุความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น
ควรอยู่ในขอบเขตที่กำหนด ไม่มีอคติ
การวิเคราห์ข้อมูล
การสร้างตาราง เพื่อบรรจุค่าต่างๆเพื่อสะดวกต่อการค้นหาเเละทดสอบ
การหาค่าทางสถิติท่ีสำคัญเช่นค่าตัวกลาง ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ
การลงรหัสเปลี่ยนข้อมูลดิบเป็นตัวเลข
การค้นหาและทดสอบความสัมพันธ์เช่น การคำนวณหาค่าสัมพันธ์การทดสอบความมีนัยสำคัญทางสถิติ
การแยกประเภทข้อมูล แยกไปตามปัญหาเเละวัตถุประสงค์
การเลือกและกำหนดปัญหา
เกณฑ์การประกอบการพิจารณาในการเลือกปัญหา
ความเป็นไปได้ของการศึกษาปัญหา
ทรัพยากรในการวิจัยเพียงหรือไม่
ความสําคัญและความเร่งด่วนของปัญหา
แหล่งข้อมูล
ประโยชน์ของการศึกษาปัญหานั้น
ความเหมาะสมต่อสถานการณ์ปัจจุบัน
เกณฑ์การกําหนดปัญหา
รูปคําถาม/เชิงคําถามให้ชัดเจน
กำหนดปัญหาในรูปความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
รูปที่วัด และทดสอบได้
แนวทางในการเลือกปัญหา
รวบรวมข้อมูลและศึกษาจากเอกสารต่างๆที่มีอยู่
ศึกษาเรื่องหรือปัญหาที่ต้องการวิจัยอย่างละเอียด
ปรึกษากับผู้มีประสบการณ์ในเรื่องที่จะศึกษาวิจัย
การอภิปรายเเละสรุปผล
สามารถตอบปัญหาที่ตั้งขึ้นไว้ได้
ผลสรุปควรสั้นกระทัดรัดได้ใจความ
อยู่บนพื้นฐานไม่เอนเอียง
การออกแบบวิจัย
เพื่อคำตอบที่ถูกต้องตรงกับวัตถุประสงค์และประหยัดที่สุด
รูปแบบการวิจัยแบ่งออกเป็น3ชนิด
เชิงพรรณนา : ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ,หาข้อเท็จจริงหรือเฝ้าระวัง,อธิบายการกระจาย3ตัวแปรสำคัญคือบุคคล สถานที่ เเละเวลา
เชิงวิเคราะห์ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเเละมีการเปรียบเทียบ
เชิงทดลอง : กำหนดกลุมทดลองและกลุ่มควบคุม วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
กลวิธีในการศึกษาคําตอบเพื่อป้องกันและควบคุมข้อผิดพลาด
การเขียนรายงานการวิจัย
รายงานการวิจัยที่ดี
ชัดเจน เข้าใจง่าย
ต่อเนื่อง กลมกลืน ไม่สะดุดหรือ วกวน
รัดกุม ตรงประเด็น น่าสนใจ
เน้นความสำคัญ ช่วยให้เข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
ถูกต้อง ปราศจากข้อผิดพลาด
เพื่อเพิ่มพูนความรู้หรือนำไปประยุกต์ใช้
เป็นงานสำคัญเพื่อถ่ายทอดข้อมูลผลการวิจัย
ลักษณะที่สำคัญของการวิจัย
เป็นการขยายแก้ไขหรือพิสูจน์ความรู้
มีวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหน่ึง
แสวงหาข้อเท็จจริงโดยมีระเบียบและแบบแผน
การวิจัยทางระบาดวิทยาที่มีความสำคัญต่อประเทศไทย
โรคติดเชื้อ
ปัญหาทางสิ่งแวดล้อม
ภาวะทุพโภชนา
ปัญหาสุขภาพจิต
โรคไร้เชื้อ
ปัญหาการบริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
น. ส. ธิดารัตน์ จงใจมั่น รหัสนักศึกษา 613022018 กพท. 2