Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย สูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วย
สูติศาสตร์หัตถการ
Vacuum Extraction delivery
ข้อห้าม
ทารกมีภาวะ macrosomia
ทารกมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ส่วนนำทารกอยู่สูง
ทารกมีภาวะ fetal distress
ภาวะ CPD
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
ทารก
Caput succedaneum
Scalp abrasion/laceration
Cephalhematoma
Alopecia
ผู้คลอด
PPH
Infection
การฉีกขาดของปากมดลูก ช่องคลอดฝีเย็บ
ข้อบ่งชี้
Prolong 2 nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 ชม. ,
ครรภ์หลังนาน > 1 ชม.)
ผู้คลอดมีโรคประจ าตัว หรือ ถาวะแทรกซ้อนที่ไม่ควรออกแรงเบ่งเช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
การพยาบาล
ขณะทำ
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งขณะแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ หลังจากนั้นกระตุ้นให้ผู้คลอดเบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูก
จนกะทั่งศีรษะคลอดจึงหยุดเบ่ง
กรณีช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับC/Sโดยทันที
ให้กำลังใจผู้คลอด อยู่เป็นเพื่อน + รายงานความก้าวหน้าของการคลอดให้ทราบเป็นระยะ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
หลังทำ
ติดตามผลการตรวจร่างกายมารดาทารก เกี่ยวกับการได้รับบาดเจ็บหรือความผิดปกติ
แนะนeการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
ประเมิน V/S , การหดรดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ และ การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อระวังการเกิดภาวะ PPH
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ก่อนทำ
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก + ฝีเย็บด้วยนheยาฆ่าเชื้อ
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ และสวนปัสสาวะ
เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ อุปกรณ์ส าหรับการให้ยาระงับคงวามรู้สึกเฉพาะที่ และอุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและคลายความกังวล
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกตามแผนการรักษา
Cesarean section
ข้อห้าม
ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ทารกตายในครรภ์ เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ขาดออกซิเจน/อันตรายจากการผ่าตัด
ข้อบ่งชี้
รกเกาะต่ำ
ทารกมีภาวะ fetal destress
การคลอดไม่ก้าวหน้า
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
การคลอดติดขัด
มาดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
การพยาบาล
ก่อนทำ
เตรียมด้านร่างกาย
เตรียมด้านจิตใจ
ขณะทำ
ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5 – 15 นาที
หลังทารกคลอดครบดูให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกจามแผนการรักษา
สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
หลังทำ
ประเมินแผลผ่าตัดดูเลือดซึมบริเวณที่ก็อซปิดแผลไว้หรือเปล่า แนะนำไม่ให้แผลโดนน้ำ
ประเมินอาการปวดแผลและแนะนำใช้มือประคองแผลเวลาลุกนั่ง ไอ หรือจาม
ให้นอนท่า semi-fowler (กรณีไม่มีข้อห้าม)
ติดตามผลตรวจร่างทารกว่ามีการบาดเจ็บหรือความผิดปกติ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1 ชั่วโมงที่2 หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม. จนอาการคงที่
Placenta removal
ห้าม
ผู้คลอดอยู่ในภาวะช็อค
การพยาบาล
ขณะทำ
ประเมิน contraction ปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอดละฝีเย็บ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมิน V/S ทุก 5 นาที
หลังทำ
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะนำการเปลี่ยนผ้าอนามัยและการทำความสะอาดภายหลังการขับถ่ายทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ PPH
ประเมิน V/S , contraction , bladder
ก่อนทำ
ดูแลการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปโดยวิสัญญี
จัดท่า Lithotomy
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์ล้วงรกให้พร้อม
ดูแลการได้รับ IV fluid ตามแผนการรักษา
ข้อบ่งชี้
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คำนึงถึงระยะเวลาที่รกค้าง
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด โดยไม่สามารถเข้าไปClamp จุดที่ขาดได้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที และเลือดออกไม่เกิน400 มิลลิลิตร
Version
External version
ข้อบ่งชี้
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์
ข้อห้าม
Abnormal FHS
Macrosomia
Uteroplacenta insufficiency
ครรภ์แฝด
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดทารกรั่วเข้าสู่เลือดมารดา
Fetal bradycardia / fetal distress
มดลูกแตก / ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การพยาบาล
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวดขณะทำการหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะๆ >> FHS > 120 ครั้ง/นาที หรือสตรีมีอาการเจ็บปวดมากใ้หยุดการหมุนเปลี่ยนท่าทันที
อยู่เป็นเพื่อสตรี เพื่อลดความกลัวและความกังวล
หลังทำ
ดูแลให้ได้รับการตรวจ U/S เพื่อยืนยันว่าเป็นท่าศีรษะ
ตรวจ NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ หากเป็น NR >> ทำ
CST ต่อ หากผลเป็น positive พิจารณายุติการตั้งครรภ์
ประเมิน FHS ต่อไปอีกอย่างน้อย 30 นาที
ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin
ก่อนทำ
ให้ NPO อย่างน้อย 8 ชม. ก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์ สถานที่ ให้สตรีถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย และจัดท่านอนหงายราย
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา ภาวะแทรกซ้อน ขั้นตอนการหมุนเปลี่ยนท่าทารก
Internal podalic version
ข้อห้าม
ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
ตกเลือดก่อนคลอด หรือ มีภาวะรกเกาะต่ำ
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
ภาวะแทรกซ้อน
ช่องทางคลอดฉีกขาด
มดลูกแตก / รกลอกตัวก่อนกำหนด
การบาดเจ็บต่อทารก เช่น กระดูกหัก การคลอดติดศีรษะ
ทารกเสียชีวิต
ข้อบ่งชี้
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ) มีปัญหาต้องคลอด่วน เช่น fetal
distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก
การพยาบาล
ก่อนทำ
เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ ไม่ NPO ผู้คลอด
ขณะทำ
อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ + ประเมิน FHS และอาการปวดเป็นระยะ
หลังทำ
ดูแลช่วยเหลือการชวยคลอดท่าก้นต่อ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ
ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะๆ
Breech delivery
การพยาบาล
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที / On EFM
อยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจ + รายงานความก้าวหน้าการคลอด
ประเมิน Contraction และกระตุ้นเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
หลังทำ
ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดหรือไม่
ให้มารดาสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอด อาการแสดงของการตกเลือด อาการปวดแผลฝีเย็บ
ประเมิน V/S ,การหดรัดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ, การฉีกขาดของช่องทางคลอด
ก่อนทำ
จัดท่าผู้คลอด Lithotomy
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยคลอดให้พร้อม ได้แก่ ผ้าปราศจากเชื้อสำหรับคล้องตัวทารกคีมชนิด piper forceps + อุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดฉุกเฉินกรณีช่วยคลอดท่าก้นล้มเหลว
อธิบายให้ผู้คลอดทราบเกี่ยวกับความจำเป็นและขั้นตอน
ภาวะแทรกซ้อน
ทารก
ข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
Fetal distress จากการคลอดติดขัด ล่าช้า
อัตราการตายของทารกเพิ่มขึ้นกว่าการคลอดปกติ 3 – 5เท่า
เส้นประสาทที่แขนได้รับบาดเจ็บ
มารดา
Dystocia /PPH
Infection / อันตรายจากการได้รับยาดมสลบ
Laceration of perineal / Uterine rupture
กลไก
กลไกการคลอดไหล่
กลไกการคลอดก้น
กลไกการคลอดศีรษะ
Forceps Extraction delivery
ด้านทารก
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น occiput transverse ซึ่งต้องหมุนศีรษะทารกเป็นท่า
occiput anterior เพื่อสะดวกในการคลอด
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น (after coming head)
ห้าม รายที่มีการผิดสัดส่วนของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (CPD) /เนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยคีม
ทารก
อันตรายต่อสมองทารก เช่น เลือดออกในสมอง ภาวะ cerebral palsy
อันตรายต่อศีรษะทารก ทำให้กะโหลกแตกหรือเลือดออกในชั้นหนังศีรษะ
อันตรายต่อเส้นประสาทบริเวณหน้า เช่นfacial palsy , Erb palsy
ผู้คลอด
การฉีกขาดช่องทางคลอด
การแยกของกระดูกหัวหน่าวและ sacroiliac joint ทeให้ปวดหัวหน่าวหรือหลังส่วนล่าง
PPH
อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
ด้านผู้คลอด
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH /Chronic hypertension
Prolong 2nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 1 ชม.
กรณีทำ Epidural block ครรภ์แรกนาน > 3 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 2 ชม.)
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า ได้รับยาบรรเทาอาการปวด หรือได้รับการทำ Epidural block
การเตรียมผู้คลอด
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ
สวนปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก + ฝีเย็บ ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่
จัดท่า Lithotomy
ตรวจภายในยืนยันท่าทารกและระดับของส่วนนำ
Induction of labor
ห้าม
Vasa previa / Placenta previa
Transverse fetal lie /Umbilical cord prolapse
Previous myomectomy entering the endometrial cavity
ภาวะแทรกซ้อน
Transverse fetal lie
Umbilical cord prolapse
Previous classical cesarean delivery
Active genital herpes infection
ข้อบ่งชี้
Preeclampsia, eclampsia / Gestational hypertension
Chorioamnionitis / Fetal demise
Postterm pregnancy /Premature rupture of membrane
Maternal medical conditions
การพยาบาล
ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที โดยเพิ่มครั้งละ 1 – 2 มิลลิยูนิต/นาที(Duration = 40 – 60 นาที, Interval = 2 – 3 นาที )
ฟัง FHS ทุก 30 นาที
ประเมิน Contraction หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไปทุก 30 นาที และทุกครั้งก่อน/หลังการปรับหยด 2 – 3 นาที
ให้ยาแก้ผู้คลอด โดยพิจารณาจากการหดรัดตัวของผู้คลอด
อธิบายวัตถุประสงค์การให้ยา
เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา