Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค
กลุ่มที่มีปัญหาอาการshock
อาการสำคัญ
ระยะแรก
ความดันเลือดต่ำ (Systolic BP ต่ำกว่า 50-90 มม.ปรอท)
หัวใจเต้นเร็ว
การกระสับกระส่าย สับสน
ระยะหลัง
แขนขาเย็น หายใจเร็ว
ปัสสาวะออกน้อยลง
การวินิจฉัยอาการช็อก
ความดันเลือดต่ำ
ปัสสาวะออกน้อย
ระดับความรู้สึกตัวซึมหรือไม่รู้สึกตัว
สาเหตุ
ช็อกจากระบบประสาท (Neurogenic shock)
ช็อกจากระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine and Metabolic shock)
ช็อกจากความผิดปกติของหัวใจ (Cardiogenic shock)
ช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ช็อกจากการเสียน้ำ/เสียเลือด (Hypovolemic shock)
ช็อกจาการแพ้ (Anaphylactic shock)
การรักษา/การพยาบาล
ช็อกจากความผิดปกติหัวใจ โดยเพิ่มความแข็งแรงในการทำงานของหัวใจ เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
ช็อกจากการติดเชื้อ รักษาโดยใช้ยาปฏิชีวนะ เพื่อทำลายเชื้อ
ช็อกจากการเสียน้ำและเลือด รักษาโดยคงไว้ซึ่งความสมดุลของปริมาณการไหลเวียนเลือดให้เพียงพอ
ช็อกจากระบบประสาท รักษาโดยเพิ่มปริมาณการไหลเวียนเลือดและให้ยาที่ส่งเสริมการหดรัดของหลอดเลือด
Burn
การประเมิน
แผลไหม้ระดับที่สอง (Second degree burn)
การรักษาที่เหมาะสมคือ การใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก
ลักษณะอาการและบาดแผลโดยรวมคือมีตุ่มพองใส
แผลไหม้ระดับที่สาม(Third degree burn)
บาดแผลไหม้จะลึกลงไปจนทำลายหนังกำพร้าและหนังแท้ทั้งหมด
แผลไหม้ระดับแรก (First degree burn)
อยู่ที่ผิวหนังชั้นหนังกำพร้า (epidermis) เท่านั้น โดยบาดแผลจะแดง (Erythema) แต่ไม่มีตุ่มพอง (Blister)
การรักษาที่เหมาะสมคือ การใช้ครีมยาทาแผลเฉพาะภายนอก (Topical antibiotic treatment
การพยาบาล
ล้างแผลด้วยน้ำเกลือที่ปราศจากเชื้อ
Second degree burn ขนาดไม่กว้าง หลังจากล้างแผลแล้ว ทายาลงบนแผล และปิดทับ
แผลไฟไหม้บริเวณใบหน้า ควรทาแผลด้วย 1% คลอแรมฟินีคอล
แผลหายดีแล้วต้องระวังไม่ให้ถูกแสงแดด 3-6 เดือน
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น
ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซหรือผ้าแห้งสะอาด
ล้างทำความสะอาดแผลด้วยน้ำสะอาดอุณหภูมิปกติ
อาการเป็นมากขึ้น ผิวหนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของผิวหนังเปลี่ยน
ไม่ควรใส่ตัวยา ครีม หรือสารใด ๆ ทาหรือชโลมลงบนบาดแผล
พิษจากแมลง
อาการสำคัญ
ปวดบริเวณที่ถูกกัด หรือต่อย
ผิวแดง
บวมบริเวณที่โดนกัดต่อย รวมถึงบริเวณรอบๆ
ผื่นลมพิษ
แพ้อย่างรุนแรง
การรักษา
ยาอิพิเนฟริน (Epinephrine)
ตามอาการ
อาการ
เวียนศีรษะ หรือความดันโลหิตลดต่ำลงอย่างมาก
หมดสติ หรือหัวใจวาย
ดูแลตนเองเบื้องต้น
ประคบความเย็น เพื่อลดความเจ็บปวด
ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดและสบู่ แล้วทาครีมสตีรอยด์
มีเหล็กในอยู่ในแผลจะต้องเอาเหล็กในออกให้หมด
การวินิจฉัย
เคยถูกแมลงกัดต่อยมากี่ครั้ง
ถามถึงอาการอื่นๆ ที่เป็นร่วมด้วย
แต่ละครั้งที่ถูกแมลงกัดมีอาการอย่างไร
การตรวจภูมิแพ้
ทางผิวหนังด้วยวิธีสะกิด
ใช้เข็มปลอดเชื้อขนาดเล็กสะกิดที่บริเวณหยดน้ำนั้นเพื่อให้ของเหลวเข้าสู่ผิวหนังด้านใน
หากมีตุ่มนูนเกิดขึ้นภายใน 15-20 นาทีแสดงว่า มีอาการแพ้ต่อพิษของสัตว์นั้นๆ
การตรวจเลือด
IgE Antibodies
แพทย์จะเจาะเลือดไปส่งตรวจในห้องปฏิบัติการเพื่อหาสารต้านภูมิแพ้ต่อแมลง
งูกัดและสัตว์ทะเล
งูกัด
อาการ
เซลล์ผิวที่ถูกงูกัด (Cytotoxin)
ทำลายเซลล์เนื้อเยื่อที่ถูกงูกัด
ปวดแดง หรือเนื้อตาย
เลือดในร่างกาย (Hemototoxin)
ทำให้เลือดแข็งตัวผิดปกติ
เสียเลือดมาก
เส้นประสาท (Neurotoxin)
ผู้ป่วยเคลื่อนไหวร่างกายลำบาก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
กล้ามเนื้อ (Myotoxin)
พิษงูออกฤทธิ์ทำลายกล้ามเนื้อ
การวินิจฉัย
าการ ผู้ที่ถูกงูบางชนิดกัดจะปรากฏอาการเฉพาะที่ส่งผลต่อการทำงานของร่างกาย
ชนิดงู หากผู้ป่วยหรือผู้ที่เข้าช่วยเหลือถ่ายภาพงูหรือมีซากงูที่ตายแล้วมาด้วย
แผลงูกัด งูแต่ละชนิดจะปรากฏแผลงูกัดแตกต่างกัน โดยงูมีพิษมักปรากฏรอยเขี้ยว
พื้นที่เกิดเหตุ สภาพแวดล้อมที่ผู้ป่วยถูกงูกัดจะช่วยให้แพทย์อนุมาน
การรักษา
ฉีดเซรุ่มแก้พิษ โดยทั่วไปแล้ว แพทย์จะฉีดเซรุ่มแก้พิษงูให้ผู้ป่วยทันทีในกรณีที่ทราบชนิดงู
ถอนเขี้ยวงูที่ฝังอยู่ออกมา
ให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่แผล
ภาวะแทรกซ้อน
มองเห็นผิดปกติ เนื่องจากพิษงูทำลายเส้นประสาทบริเวณหนังตา ส่งผลให้หนังตาตก
ประสบภาวะความดันในช่องกล้ามเนื้อสูง โดยบริเวณที่ถูกงูกัดจะบวมขึ้นอย่างรุนแรง
เลือดออกภายในร่างกาย
สัตว์ทะเล
จากการบริโภคเนื้อ และอวัยวะของสัตว์ทะเลที่มีพิษ (poisonous animals) สัตว์ทะเลบางชนิดมีการสะสมสารพิษในบริเวณเนื้อเยื่ออวัยวะภายใน
การเกิดบาดแผล (injurious animals) เนื่องจากถูกอวัยวะที่แหลมคม เช่น ฟัน หนาม ก้านครีบ หรือเงี่ยง
ทะเลที่มีพิษ กัด ทิ่มแทง หรือต่อย (venomous animals) และปล่อยสารพิษเข้าสู่ร่างกายตรงบริเวณบาดแผลนั้น พิษของสัตว์ทะเลอาจอยู่ที่เงี่ยง ก้าน ครีบ เขี้ยว
การป้องกัน
ขณะที่ฝนตก ลมแรง มักจะพัดพาเอาพวกแมงกะพรุน เข้าสู่ชายฝั่ง จึงไม่ควรเข้าไปสัมผัสเด็ดขาด
การว่ายน้ำหรือดำน้ำดูปะการัง ควรมีเสื้อผ้าห่อหุ้มร่างกายเพื่อป้องกันเหล็กไนของสัตว์พวกนี้ไม่ให้ถูกผิวหนัง