Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, นางสาววรรณภา ดวงสุวรรณ์ …
การพยาบลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะที่สมองไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือควมเจ็บปวด
ระดับความรู้สึกตัว
Confusion สับสน
Disorientation ความรู้สึกเริ่มลดลง
Lethargy/Drowsy ง่วงงุน พูดช้า
Stupor ไม่รู้สึกตัว หลับลึก
Full consciousness รู้สึกตัวดี
Coma ไม่รู้สึกตัว
ท่าทาง
Decerebrate ข้อมือ ข้อเท้า บิดออกด้านนอก
Decorticating ข้อมือ ข้อเท้า งอเข้าตัวเอง
GCS
V:Verbal response
M: motor response
E:Eye opening
ภาวะชักจากไข้สูง
Febrile
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติชักอายุก่อน 1 ปี
ประวติสมาปชิกครอบครัวมีคนชัก
เคยไข้ร่วมกับติดเชื้อ
สาเหตุ : ติดเชื้อระบบต่างๆ ยกเว้นระบบประสาท
ชัก+ไข้ ไม่ริดเชื้อที่ระบบประสาท
อาการ : T> 38C, ชักเกิดใน 24 ชม.แรก หลังมีไข้
ชนิด
1.simple febrile ชักทั้งตัว ไม่เกิน 15นาที ไม่ชักซ้ำ ก่อน/หลังชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
2.Complex febrile seizure เกิดซ้ำในครั้งเดียวหลังชักมีความผิดปกติทางระบบประสาท
Epilepsy
สาเหตุ
1.ทราสาเหตุ:ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
2.ไม่ทราบสาเหตุ :ความผิดปกติ Neurotransission
3.หาสาเหตุไม่ได้
อาการ
Preictal period ระยะชัก
1.อาการนำ seizure prodromes
2.อาการเตือน Aura อาการปวด เห็นภาพหลอน
Ictal event หรือ peri-ictal period ระยะชักไม่เกิน 5 นาที
Postical period ระยะหลักชัก. มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง อาจเกิดนานหลายนาที แต่ไม่เกิน 24ชม.
Literictal period ช่วงเวลาระหว่างชัก
อุบัติการณ์: พบในเด็กร้อยละ 4-10
พบอายุ 5-7Y
พบเพศชาย>เพศหญิง
ชนิด
ชักเฉพาะที่
ชักทั้งตัว
เซลล์ประสาทสมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ เกิดครั้งคราวทันทีทันใดและรุนแรง เกิดชักซ้ำ
ลักษณะการชัก
ชักเกร็ง : เกร็งแข็ง กล้ามเนื้อตึง
ชักตัวอ่อน :เสียงความตึงตัวของกล้ามเนื้อทันที
ชักสะดุ้ง: มีการหดตัวของกล้ามเนื้อรุนแรงและเร็วมาก
ชักเกร็งกระตุก :ทั้งตัวและหมดสติ
ชักกระตุก: กระตุกเป็นจังหวะ
Meningitis
สมอง ไขสันหลัง เยื่อหุ้มสมองถูกทำร้าย ชั้นในสุดและอแรดนอยด์
จากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว คือ
1.Heamophilus influenzae
2.Neisseria meningitidis
3.Streptococcus pneumonia
มักมีหนาวสั่น
พบในชายมากว่าหญิง
อายุ 2-7ปี
ทางเข้าเชื้อจาก : หูชั้นกลางอักเสบ โพรงจมูกอักเสบ
อาการ :ไข้สูงหนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชัก ซึมหมดสติ
Meningococcemia
ระยะติดต่อ :ทางน้ำลายและโพรงจมูก
ระยะฟักตัว 2-10 วัน
สาเหตุจากเชื้อBacteria Neisseria meningitis แกรมลบ
อาการ : ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง ผื่นแดง จ้ำเลือดแบบPink mucuoes
การรักษา
ATB ได้แก่ chef-3,PGS, chloramphenicol
ประคับประคอง
Glucocorticoid therapy ก่อนให้ATP 15 นาที
การป้องกัน
ให้ความรู้
วัคซีน Serogroups A,C,Y, และ W135
สัมผัสหรืออยู่บ้านเดียวกันกับผู้ป่วย ปรึกษาแพทย์
Meningococcemia
Acute ปวดศีรษะ ไข้สูง หนาวสั่น ปวดข้อและกล้ามแรง
Chronic ไข้ ผื่นตามผิวหนัง ปวดและเจ็บข้อเป็นเดือน
Fulminant เป็นรุนแรง ระบบไหลเวียนเลือดไม่ทำงาน
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับ
สติปัญญาพร่อง
CP
ความบกพร่องเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว/ทรงตัว
Extrapyramidol Cerebral palsy การเคลื่อนไหวผิดปกติตลลอดเวลา ขณะตื่น กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia Cerebral palsy เดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อยขาทรงตัวไม่ดี สติปัญญาปกติ
Splastic
Quadriplegie กล้ามเนื้อแขนขา 2 ข้าง คอ ลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Diplegia ผิดปกติแขนขา 2 ข้าง. ขามากกว่าแขน
Heamiplegia ผิดปกติซีกใดซีกหนึ่ง
Mixed type หลายอย่างรวมกัน
การประเมิน
ประวัติมารดาติดเชื้อขณะคลอด, คลอดท่าก้น ,สมองขาดออกซิเจนขณะคลอด
ตวจร่างกายพบเส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
อาการสำคัญ : ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อติดแข็งทพัฒนาการล่าช้า
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ/อุจจาระ ตลอดเวลา
มีไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติไม่ได้รับวัคซีน หรือไม่ได้คลอดที่รพ.
Spina Bifida
การวินิจฉัย
ตรวจพิเศษ Alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ
ตรวจร่างกาย แขนขาอ่อนแรง พบก้อน/ถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
ประวัติมารดาไม่รับกรดโฟลิกขณะตั้งครรภ์, ได้รับยากันชัก
การรักษา
ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ชนิดCysticaต้องผ่าตัดภายใน 24-48 ชม. เพื่อลดการติดเชื้อ
ชนิด
Cystica ความผิกปกติของการปิดส่วนโค้งกระดูกสันหลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
Myelomeningocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลังพบบ่อยมีอันตรายและเกิดความพิการ
ความรุนแรงขึ้นอยู่กับตำแหน่ง
Meningcele ก้อน/ถุงน้ำ ประกอบด้วย เยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไม่เป็นอัมพาต
Occulta ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วนVetebral archesไม่รวมตัวกัน
เป็นความบกพร่อง ของกระดูกสันหลัง พบบ่อยที่Lumbosocrum
การป้อง:ให้กรดโฟลิกแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กรณี1 ไม่มีไข้ : Head injury, epilepsy, Brain tumor
กรณี2 มีไข้ : Meningitis, Encephalitis tetanus
อาการสำคัญ: ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณี3ไข้มากว่า38 C อายุ6M-5Y ไม่ติดเชื้อ : Febrile convulsion
motor power
บทบาทพยาบาล
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคประสาท
การรวบรวมข้อมูล
ประเมินความผิดปกติระบบประสาท
ตรวจพิเศษ
สัญญาณชีพ
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในกะโหลกศีรษะ
การรักษาIICP
กรณีที่ผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจเพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 C เพื่อช่วยในการไหลเวียนของน้ำไขสันหลังกลับสู่หลอดเลือดดำได้ดี
Hydrocephalus
อาการสำคัญ : ศีรษะโตแต่กำเนิด กะหม่อมหน้าโป่ง ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
การรักษา
ผ่าตัดใส่สายระบายลงในโพรงร่างกาย
ยาขับปัสสาวะ
ชนิดความผิดปกติ
Congenital ผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructiveผิดปกติในการอุดตันทางเดินน้ำไขสันหลัง
Communicateผิดปกติในกาดูดซึมน้ำไขสันหลัง
นางสาววรรณภา ดวงสุวรรณ์
รหัสนักศึกษา613601175