Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กาพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหักในเด็ก, นางสาววรรณภา ดวงสุวรรณ์…
กาพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกหักในเด็ก
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกหัก
กระดูกหักที่พบบ่อย
ภยันอันตราต่อข่ายประสาทbrachial plexus
จากการคลอด brith palsy
การวินิจฉัย ::แขนเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าปกติ
การรักษา : ฟื้นฟูประสาทไม่นำเป็นต้องผ่าตัด
สาเหตุ: เกิดจากข่ายประสาทถูกยึด ได้แก่ คลอดท่าก้น ภาวะคลอดไหล่ติด เด็กมีน้ำหนักตัวมาก
กระดูกข้อศอกหัก
( Supracondylar fracture )
เกิดจากพลัดตกหกล้ม
หักแบบ greenstick ใส่เฝือก posterior plaster splint
ภาวะแทรกซ้อน Volkman’s ischemic contracture
ปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
ลักษณะ : แขนอยู่ในท่าคว่ำ ข้อศอกงอ ข้อมือพับลง อัมพาต กล้ามเนื้อลีบ ข้อแข็งเกือบทุกข้อ
สาเหตุ : กระดูก forearmขาดเลือดไปเลี้ยง
ระยะเวลาเกิด
เริ่มเป็น : บวม เจ็บ ปวด นิ้วกรงออกจากกัน ชา สีนิ้วซีด คลำชีพจรไม่ชัด/ไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ : กล้ามเนื้อบวม ตึงแข็ง สีคล้ำ มีความอัดดันในมาก ข้อนิ้วมือแข็ง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว : Pronator และ flexor ของแขน มือ นิ้ว ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เร็วที่สุด
อย่างอข้อมากเกินไปขณะใส่เฝือก
ใช้slab ใส่ทางด้านหลังของแขนไม่ควรใส่ circular cast
คำแนะนำ
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจ
ถ้าปวดบวมมมากกลับมาพบแพทย์
กระดูกต้นขาหัก
พบทุกวัย ส่วนมากอายุ 2-3 ปี
รักษาโดยใช่เฝือก 3-4 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
เด็กที่อายุ<10 ปี ส่วนในทารกอาจ
เกิดจากการคลอดติดไหล่
อาการ
-Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
-Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
-ปวด บวม ข้างที่เป็น
-เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
การรักษา
กระดูกปลายแขนหัก :
พบบ่อยเด็กหัดเดินถึงวัยรุ่น
ตำแหน่งที่บ่อย ส่วนล่าง1/3 ของลำกระดูก
สาเหตุ : หกล้ม
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ทารกแรกเกิดจากไหล่ติด เด็กโตเกิดจากหกล้ม
การรักษา : ทำskin traction หรือ skeletal traction
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head , pulled elbow ) เกิดน้อย พบบ่อย อายุ<6ปี
การพยาบาล
เคลื่อนย้ายด้วยความระมัดระวัง
ตามแผนการรักษา
traction
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limbใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา
Dunlop’s tractionใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขนรายที่มีอาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Bryant’s tractionในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่0-2 ขวบ หรือน้้าหนักไม่เกิน 13 กก.
Skin tractionใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไปtraction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s tractionใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture
ผ่าตัด ORIF
เฝิอกปูน : หลังใส่24ชม.ให้ประเมิน 5P
ประเมินการบาดเจ็บ พิจารณาตามหลัก ABCDEF
คือ ภาวะที่กระดูกแยกออกจากกันโดยสิ้นเชิงหรือบางส่วน
พบบ่อยอายุ 6-8ปี และ 12-15 ปี พบมากเพศชาย>หญิง
สาเหตุ : หกล้ม ตกจากที่สูง อุบัตเหตุท้องถนน
อาการและอาการแสดง
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
Polydactyly
การรักษา: ผ่าตัด
สาเหตุจากพันธุกรรม
Sydactyly นิ้วเกิน
ไม่เป็นอันตรายต่อชีวิต
การรักษา : ผ่าตัดได้ผลดี
ภาวะแทรกซ้อน : การปวด
Scoliosis
กระดูกสันหลังคด
เกิดจากการเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การเป็นอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเตยโตน้อย หากคดโค่งผิดปกติทำให้ทรวงอกทำงานผิดปกติ
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย : ทำ Adam‘S toward bending test
X-ray
ประวัติ: การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
อาการ
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อย
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านหน้า ระหว่างของแขนสองข้างและเอวไม่เท่ากัน
ความจุในปอดไม่เท่ากัน
ทรวงออกเคลื่อนไหวจำกัด
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านหน้า
การรักษา
แบ่งเป็นวิธี
แบบอนุรักษนิยม: กายภาพบำบัด, บริหารร่างกาย
แบบผ่าตัด
ป้องกันไม่ให้เป็นที่อก, ไม่มีความพิการ, ลดการพิการ, ปรับปรุงสมรรถภาพปอดและหัวใจ, ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุล
แนวทางการพยาบาล
ป้องกันการติดเชื้อจากแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ติดลำตัว
ดูแลความสุขสบาย
แนะนำการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
คอเอียงแต่กำเนิด
Congenital muscular tofticollis
อาการ : คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอ ด้านที่เอียง ก้อนค่อยยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงนานส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะเบี้ยว ไม่สมดุล
ลักษณะ : ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่ง จากเนื้อเยื่อคอถูกกดขณะคลอด
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ลักษณะ และประวัติของผู้ป่วย
ภาพรังสีกระดูกคอ
การักษา
ยืดกล้ามเนิ้อคอที่หดสั้น พบได้ดีอายุ<1ปี
ยืดแบบใช้เด็กหันศีรษะเอง active stretch
การใช้อุปกรณ์พยุงorthosis
วิธีดัด passive stretch
ผ่าตัด
นางสาววรรณภา ดวงสุวรรณ์ รหัสนักศึกษา 613601175