Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวแก้วพิรมย์ เจริญ เลขที่ 9 ห้อง 2A…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กรดูกหัก
กระดูกแตกแยกกันโดยสิ้นเชิง
หลุดออกจากเบ้า ส่งผลต่อเนื้อเยื่อ เส้นประสาทเกิดอันตราย
ลักษณะกระดูกเด็ก
5.การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มาก
การ ไหลเวียนของเลือดบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นอาจภาวะ Volk man’s ischemic contracture
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่ม primary ossification centerต่อมา(ossification center secondary)
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่า (tendon),(ligament)และ (joint capsule)เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณ นี้มากกว่า
อาการ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออก
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึม
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติด
(collagen fiber) ( osteoclast ) รวมเรียกส่ิงท่ีสร้างขึ้นว่า (callus) เปรียบเสมือนเป็นกาวธรรมชาติ ( biological glue ) ถ้าเชื่อม ระหว่างคอร์เทกซ์ด้านนอกเรียกว่า external callus ถ้าเชื่อมด้านใน เรียกว่า endocallus
กระดูกที่สร้างขึ้นใหม่ 48 ชั่วโมงและจะใช้เวลาใประมาณ 6-7 วัน โดยเฉลี่ยการติดขประมาณ 6-16 สัปดาห์ขึ้นอยู่ กับสาเหตุ อายุ ต้าแหน่งและความรุนแรงของอันตรายที่ได้รับ
ประเมิน
ตรวจร่างกาย
ลักษณะกระดูกหัก มีบาดแผลหรือไม่มี กระดูกโผล่หรือไม่โผล่
ลักาณะข้อเคลื่อน เคลื่อนออกหรือเคลื่อนเพยงเล็กน้อย
กระดูกหักที่พบบ่อย
1.กระดุกไหลปลาร้าหัก(fracture of clavicle)เกิดอายุ <10ปี เด็กทารกคลอดติดไหล่
อาการ
crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม
pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อยไหล่ดก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ แขนที่ดีประคอง
รักษา
มัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศาพัน 10-14 วันในเด็กทารก
2.กระดูกต้นแขนหัก(fracture of humerus)
ตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นาน ประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletal traction ก็ได้
เด็กตัว แขนกระแทกพื้น
เด็กทารกคลอดก่อนกำหด
กระดูกปลายแขนหัก พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง วัยรุ่น เกิดจากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
เอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )หกล้มเอมือเท้าพื้นข้อศอกเหยียดตรง
ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
โรคแทรก ซ้อนที่อาจเกิดข้ึน “ Volkman’s ischemic contracture ”
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
เด็กอายุ 2-3ปี ปวด บวม3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบ ยาวนาน 3-4 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
ดึงแขนดึงแขนขึ้นตรงๆ
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
ข่ายประสาทbrachialplexusเป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสนัหลงั ส่วน ventral rami ระดับ C5-T1
สาเหตุ คลอดท่าก้น คลอดติดไหล่ น้ำหนักมาก
การพยาบาล
1.ป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หกัได้รับ
บาดเจ็บเพิ่ม
เข้าเฝือกปูน
3.1.1 การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
3.1.2 ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง
ซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P ได้แก่
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้ - Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
3.1.3 ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การตึงกระดูก(traction)
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้าหนัก ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
2.การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
เปลี่ยนท่าที่ เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
3.การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยสาลีพันเฝือกบริเวณข้อศอก ข้อเข่า ควรคลาย สาลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้าง นอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นทาแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
โรคแทรกซ้อน
Volkmann’s ischemic contracture
ระยะเริ่มเป็น
ก.มีบวมเห็นไดชัดที่นิ้ว
ข.เจ็บและปวด
ค.นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้การบวมทาให้นิ้วแข็ง
ง. สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคล้า นิ้วอุ่น
ฉ. ชีพจร ไม่ชัด
2.ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดัวการหดตัว และนิ้ว ทาให้มือและนิ้วหงิกงอ
โรคคอเอียงแต่กาเนิด(CongenitalmuscularTorticollis)
การรักษา
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เดก็หันศีรษะเอง(activestreth) การให้นม หันด้านคอเอียง
วการใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
ใส่อุปกรณ์ดัดลาตัว (Brace) ซึ่งข้อบ่งชี้สาหรับการใส่ brace คือ ในเด็กอายุน้อย กว่า 11-12 ขวบ ที่มีมุม ประมาณ 25-40 องศา และเพิ่มขึ้นค่อนข้างเร็ว เช่น มากกว่า 5 องศา ภายใน 6 เดือน เป็นต้น จุดประสงค์ของการใส่ brace เพื่อให้ มุมที่วัดได้ตอนเด็กโตเต็มวัย น้อยกว่า 50 องศารักษา
กระดูกข้อเคลื่อนในเด็กรักษาโดยไม่ผ่าตัด
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่ง salter ชนิด III,IV
กระดูกหักจากหดรัดตัวเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
(displaced fracture neck of femur)
การหักผ่านข้อ(displaced intra articular fracture)
ข้อเคลื่อนที่มีกระดูกติดอยู่ภายใน
กระดูกมีแผลเปิด(open fracture)
ข้อเคลื่อนเกินกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
นางสาวแก้วพิรมย์ เจริญ เลขที่ 9 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา613601010