Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้ในการใช้เครื่องช่วยหายใจ
1.การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
2.การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
3.ประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งลดลง
4.เพื่อลด work of breathing เช่น ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผู้ป่วยหลังผ่าตัดใหญ่ ๆ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
1.
Pressure cycled ventilator
ควบคุมด้วยความดันลม
2.
Volume cycled ventilator
ควบคุมด้วยปริมาตรลม
3.
Time cycled ventilator
ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
4.
Flow cycled ventilator
ควบคุมด้วยปริมาตรการไหลของลม
วงจรพื้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
1.Gas inlet
คือตำแหน่งที่ก๊าซป้อนเข้าเครื่อง แบ่งออกเป็นสองทางคือทางเข้าของออกซิเจนและทางเข้าของอากาศ โดยความดันของก๊าซที่เข้ามานี้จะต้องเป็นความดันเท่ากับ 50 Psi และมีความดันคงที่
2.Machine หรือตัวเครื่อง
หลังจากที่ออกซิเจนและอากาศเข้ามาในเครื่อง เครื่องจะผสมออกซิเจนกับอากาศตามสัดส่วนที่ตั้งไว้เพื่อให้ได้ค่า FiO2 ตามที่ตั้งไว้ จากนั้นจะจ่ายลมออกไปจากเครื่องตรงตำแหน่ง gas outlet ด้วยปริมาตร อัตราการไหล และจำนวนครั้ง ตามที่ผู้ใช้กำหนดไว้
3.เครื่องทำความชื้น (nebulizer or humidifier)
เนื่องจากอากาศที่ออกจากเครื่องเป็นอากาศที่แห้ง ดังนั้นจึงต้องทำให้เกิดความชื้นก่อน
1.
Simple jet nebulizer
เป็นเครื่องผลิตฝอยละออง aerosol ง่ายๆ แต่ขนาดละอองมักใหญ่ลงไปไม่ถึงหลอดลมขนาดเล็กๆ เช่น เครื่อง Bird
2.
Heated humidifier
เป็นเครื่องผลิตความชื้นในรูปไอน้ำ ขนาดละอองเล็ก จึงเป็นผลดี เช่น Bennette
4.Inspiratory pathway
เป็นท่ออากาศออกจากเครื่องทำความชื้นเพื่อส่งเข้าสู่ปอดต่อไป
5.Expiratory pathway
เป็นท่อนำอากาศที่ออกจากปอดเพื่อทิ้งออกสู่บรรยากาศ
6.Expiratory valve
เป็นลิ้นซึ่งเปิดปิดได้ตามจังหวะการหายใจและติดตั้งอยู่ปลายทาง expiratory pathway ในจังหวะการหายใจเข้าลิ้นนี้จะต้องปิดสนิทเพื่อให้ลมที่มีแรงดันบวกจากเครื่องไหลเข้าสู่ปอดซึ่งมีแรงดันต่ำกว่าได้โดยตรง ส่วนในจังหวะหายใจออกลิ้นนี้จะเปิดออกกว้างเพื่อให้อากาศจากปอดไหลออกสู่บรรยากาศ
วิธีการช่วยหายใจ
1.Control mechanical ventilation
เป็นวิธีการช่วยหายใจที่เครื่องจะทำงานแทนผู้ป่วยทั้งหมด โดยผู้ใช้เป็นผู้กำหนดค่า TV, RR , และ Flow waveform
2.Assisted Control ventilation
เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผู้ป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด ขึ้นกับอัตราการหายใจของผู้ป่วยและอัตราการหายใจของเครื่องที่ตั้งไว้
3.Synchonized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
เครื่องจะทำงานให้ mandatory ventilation breath ในอัตราที่ตั้งไว้คงที่ผู้ป่วยสามารถหายใจ Spontaneous ระหว่าง Mandatory breath
4.Pressure support
เครื่องจะให้ flow จนถึงระดับ pressure ที่ตั้งไว้ผู้ป่วยเป็นคนกำหนด
Tidal volume
Rate
เวลาในการหายใจเข้า
5.Positive end expiratory pressure
6.Continuous Positive airway pressure
เป็น Spontaneous breath ทั้งหมด
เครื่องให้อากาศตลอดเวลา
ลดการออกแรงในการหายใจ
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
1.ระบบการต่อของเครื่อง
2.ความผิดปกติของการทำงาน
3.ระบบการเตือนความผิดปกติ
4.การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
5.ระบบความชุ่มชื้น
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning criteria )
1.Clinical factors
5.ระดับความรู้สึกตัวดี
6.ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
3.Pulmonary mechanics
2.Pulmonary gas exchange
7.ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
4.ความพร้อมทางด้านจิตใจ