Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อ และกระดูก
โรคกระดูก
ความหมาย
โรคเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
การรักษา
1.แบบประคะบประคอง
รักษากระดูกหักทั่วไป
2.การรักษาสาเหตุ
ให้วิตามินดี
สาเหตุ
3.โรคไตบางชนิด
2.ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียม
4.ภาวะฟอสฟอรัสต่ำ
1.ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้ออ่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบ
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
หลังหนึ่งขวบ
ขาโก่ง
ขาฉิ่ง
หลังค่อม
เดินคล้ายเป็ด
การป้องกัน
ให้ Vit D /day/kg
ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
ทานโปรตีนและแคลเซียม
หลีกเลี่ยงยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
Bone and Joint infection
Septic arthritis
การวินิจฉัย
Lab
เจาะดูดน้ำไขข้อ
ESR CRP สูง
รังสี
พบช่องระหว่างข้อ
ทางคลินิค
มีไข้ มีการอักเสบ
มักเป็นที่ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า
การรักษา
2.ผ่าตัด
1.ให้ยาปฏิชีวนะ
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
เชื้อแบคทีเรีย
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อสะโพกตาย
ข้อถูกทำลาย
ข้อเลื่อนหลุด
Growth plate ถูกทำลาย
Osteomyelitis
สาเหตุ
การวินิจฉัย
ประวัติ
ปวด ไม่ขยับแขนข้างที่เป็น
ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
ปวด บวม แดง ร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC
พบ Leucocytosis, ESR, CRP สูง
ย้อมแกรมขึ้นเชื้อ
การตรวจทางรังสี
Plain flim
เนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
MRI
พบ soft tissue abcess
Bone scan
ผลบวก
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เข้าสู่กระดูกจาการทิ่มแทงจากภายนอก หรืออวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากเส้นเลือด
การรักษา
1.ยาปฏิชีวนะ
2.การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกที่ตายออก
อาการแทรกซ้อน
1.กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
2.กระทบต่อ physis
Tuberculous Osteomylitis and Tuberculous Arthritis
อาการและอาการแสดง
กระดูกจะถูกทำลาย
กระดูกบางลง
การวินิจฉัย
รังสี
plaint flim
MRI
Lab
CRP, ESR สูง
tuberculin +
ทางคลินิค
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ไข้ต่ำๆตอนบ่าย ต่อมน้ำเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ป่วย
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
เข้าสู่ปอด
การรักษา
1.ให้ยาต้านวัณโรค
2.ผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม
อ่อนแรง อัมพาต
ปวดข้อ
Club Foot
การวินิจฉัย
เท้าจิกลงบิดเอียงเข้าข้างใน
การรักษา
1.ดัดและใส่เฝือก
2.การผ่าตัด
สาเหตุ
ปัจจัยส่งเสริม
แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
Flat feet
อาการ
รองเท้าสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
มีตาปลา
การรักษา
5.laser บรรเทาอาการ
4.ใส่แผ่นรองเสริม
3.อย่ารักษาตาปลาด้วยตนเอง
2.ใส่รองเท้าขนาดพอดี
1.พบแพทย์เฉพาะทาง
สาเหตุ
พันธุกรรม
เอ็นข้อเท้าฉีกขาด
เดินผิดปกติ
โรคกระดูกอ่อน
Osteosarcoma
อาการและอาการแสดง
มีไข้
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
น้ำหนักลด
อาจมีกระดูกหัก
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตำแหน่งก้อน
ห้องปฏิบัติการ
MRT
CT
ซักประวัติ
ระยะเวลามีก้อน
อาการปวด
การเคลื่อนไหว
การรักษา
1.การผ่าตัด
3.รังสีรักษา
2.เคมีบำบัด
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
บทบาทของพยาบาล
รวบรวมข้อมูลสภาวะสุขภาพ
ให้คำแนะนำบิดามารดา
ดูแลเด็กที่มีความผิดปกติ
แนวคิดสำคัญ
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หรือหน้าผาก ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
Congenital Spina bifida
ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
พบบ่อยที่ lumbosacrum
Meniningocele
ก้อนหรือถุงน้ำ
เยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง
Meningomyelocele
กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง ไม่ฉีดวัคซีน ไม่คลอดใน รพ. เป็นต่างด้าว
Poliomyelitis
การควบคุมการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้
กรณีที่ 2 มีไข้
กรณีที่ 3 มีไข้สูงเกิน 38 ํC ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาท
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ ทางเดินหายใจ
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 ํC
เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกที่เริ่มมีไข้
มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี
พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
1.อายุ ชักครั้งแรกก่อน 1 ปี
3.ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
2.มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
4.ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
ชนิดของการชักจากไข้สูง
1.Simple febrile seizure
5 more items...
2.Complex febrile seizure
5 more items...
Meningitis
ความหมาย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆสมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
1 more item...
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ
คอแข็ง
ตรวจพบ Kerning sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
การตรวจน้ำไขสันหลัง
CSF
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
โปรตีน 15-45 mg/100 ml
ความดันระหว่าง 75-180 มม.น้ำ
กลูโคส 50-75 mg/100 ml
ปกติจะไม่มีสี
คลอไรด์ 700-750 mg /100 ml
Culture & Latex agglutination
Meningococcal Meningitis
เชื้อสาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และ PCR
seminested-PCR
ตรวจหาค่า MIC
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุรแรง
คอแข็ง อาเจียน
จ้ำเลือด (pink macules)
Meningococcemia
Chronic Meningococcemia
1 more item...
Fulminant Meningococcemia
1 more item...
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ
คอแข็ง ซึมและสับสน
อาการแย่ลงอย่างรวดเร็ว
วิธีการติดต่อ
จากคนสู่คน
droplet
น้ำมูก น้ำลาย
ฟักตัว 3-4 วัน
สมองได้รับบาดเจ็บ (Head Injury)
เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor)
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป ห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุ
จากความผิดปกติของ Neurotransmission
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันตรายระหว่างการคลอด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคทางพันธุกรรม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการและอาการแสดง
postictal peroid
ระยะชักสิ้นสุด
มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง ส่วนใหญ่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง
Interictal peroid
ช่างระหว่างการชัก
เริ่มตั้งแต่หลังการชักสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มชักครั้งใหม่
1 more item...
Ictal event
ระยะชัก
ไม่เกินครึ่งชั่วโมง
Preictal period
ระยะก่อนชัก
1.อาการนำ
1 more item...
2.อาการเตือน
1 more item...
ชนิดและกลุ่มอาการ
อาการชักทั้งตัว
ชักเหม่อ (Absence)
มีลักษณะเหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวชั่วขณะ เกิดขึ้นทันทีเป็นระยะเวลาสั้นๆ
4 more items...
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักเกร็งกระตุกทั้งตัว เริ่มจากส่วนหนึ่งของร่างกายแล้วค่อยๆกระจายไปยังส่วนที่อยู่ใกล้ต่อไปเรื่อยๆ
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
ขณะชักรู้ตัวตลอดเวลา บอกได้ว่าเกิดอย่างไร
ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
ขณะชักจำเหตุการณืไม่ได้
ความบกพร่องของสติปัญญา
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว
เกร็งเมื่อกระตุ้น
การดูดกลืนบกพร่อง
หายใจไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อติดแข็ง
พัฒนาการล่าช้า
ประวัติ
สมองขาดออกซิเจน
Cerebral palsy
สมองพิการ
เกิดความผิดปกตืเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว
ชนิด
1.กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
3.Ataxia cerebral palsy
2.athetoidsis
4.Mixed type
การประเมินสภาพ
1.ซักประวัติ
มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
หัดเยอรมัน
เด็กมีพัฒนาการช้า
คลอดท่าก้น
2.ประเมินร่างกาย
ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาการไม่ตามวัย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่ม
ความไม่รู้สึกตัว
สมองไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
Full consciousness
ตื่น รู้สึกตัวดี รับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล
disorientation
ไม่รับรู้วัน เวลา สถานที่ บุคคล ระดับความรู้สึกตัวเริ่มลดลง
confusion
สับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
drowsy
เคลื่อนไหวได้เล้กน้อย ง่วงงุน พูดช้า และสับสน กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าจะโต้ตอบได้เป็นปกติ
หากกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าแล้วไม่ตอบโต้ เรียกว่า Obtundation
stupor
ไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำๆกันหลายครั้ง เช่น เคลื่อนไหว หรือส่งเสียงเบาๆ จะช้า
coma
ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง
ท่าทางของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing
นอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้างเข้าหาตัว กำมือแน่น งอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเหยียดปลายเท้าออก และงอปลายเท้าเข้าหากัน
พบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน Cerebral cortex อย่างรุนแรง
Reflexes
ในช่วงหมดสติลึก Deep coma จะพบว่า reflexes ต่างๆของเด็กจะหายไป
Decerebrate posturing
นอนหงาย แขนทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ำแขนลงโดยบิดข้อมือออกด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน
พบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
ความดันในช่องสมองผิดปกติ
Hydrocephalus
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด
กระหม่อมหน้าโป่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้น
ปวดศีรษะ ซึม
ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
อาการแสดงทางคลินิก
14.เลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
13.ปัญญาอ่อน
12.พัฒนาการช้ากว่าปกติ
11.การหายใจผิดปกติ
10.รีเฟล็กไวเกิน
9.ตาเขเข้าใน
8.ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
7.ความดันกะโหลกศีรษะสูง
6.เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
5.หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
4.รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
3.รอยต่อกะโหลกแยก
2.หัวโตกว่าปกติ
1.หัวบาตร (Cranium enlargement)
การรักษา
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
2.ผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
1.รักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolamind
มีปัญหาทางหน้าท้อง
Omphalocele
ลักษณะทางคลินิค
กลางท้องมีถุง Omphalocele
ในถุงอาจประกอบด้วย ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
สร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์
การรักษา
conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ
เหมาะกับในรายที่ Omphalocele ขนาดใหญ่
operative
primary fascial closure
staged repair
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด เป็นช่องแคบยาวที่ผนังหน้าท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุ
การวินิจฉัย
หน้าท้องทารกพบถุงสีขาวขุ่นบาง
มองเห็นขดลำไส้หรือตับ
wharton's jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
Incubator หรือผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
ประเมินการหายใจ
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
ให้ antibiotic
ตรวจน้ำตาล เกลือแร่
เจาะเลือดแม่
การดูแลทั่วไป
ให้ Vit K
รักษาความอบอุ่น
ไม่อาบน้ำให้เด็ก
ประเมินภาวะทั่วไป
decompression stomach
ค้นหาความพิการร่วม
การดูแลเฉพาะ
ทำแผลให้สะอาด หมาดๆ ไม่รัด
กระดูกหักในเด็ก
fracture of clavicle
อาการละอาการแสดง
Pseudoparalysisขยับข้างที่เป็นได้น้อย
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ
90 องศา ให้ติดกับล าตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ 90 องศา และพันคล้องไว้ แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
Supracondylar fracture
พบบ่อยในเด็ก
พบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน
เด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ” กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
ในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
Transient subluxation of radial head , pulled elbow
เกิดจากการยกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนขึ้นมาตรงๆในขณะที่ศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ำ
fracture of humerus
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอด
สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์ อาจท้า skin traction หรือ skeletaltraction ก็ได้
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
brachial plexus
ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสันหลังส่วน ventral rami ระดับ C5-T1
สาเหตุ
การวินิจฉัย
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
Nursing care of facture in children
เด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อส่วนมากเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ โดยพิจารณา ระบบ ABCDEF
1.ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur )
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper lim
Dunlop’s traction
Skin traction
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
1.ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก
ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย ด้วยการทดสอบการไหลเวียนเลือด (blanching test)
จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ทำผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม และปวด
การทำแผล จะเปิดทำแผลทุกวันหรือไม่เปิดทำแผลเลย จนกว่าจะตัดไหมขึ้นกับลักษณะของแผล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
1 more item...
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูก เนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
1 more item...
การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
2 more items...
fracture of femur
ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา
ปวดข้างที่หัก
ใส่เฝือก 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือ Bryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปีแก้ไขโดยทำRussel’s traction