Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและกระดูก
กระดูกหัก
หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน อาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิงหรือมีเพียงบางส่วนติดกันหรือเป็นเพียงแตกร้าว
ข้อเคลื่อน
หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งการบาดเจ็บของข้อและกระดูกยังส่งผลให้เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้้าเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
1.แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น (tendon),เอ็นหุ้มข้อ (ligament)และเยื่อหุ้มข้อ(joint capsule)เมื่อมีการแตกหักจะหักบริเวณนี้มากกว่า
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี กระดูกหักในเด็กจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว เด็กอายุยิ่งน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด หรือเชื่อถือได้อยาก
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน แต่การบวมนี้ก็หายเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes) การไหลเวียนของเลือดบริเวณแขน ขา จากการใส่เฝือกหรือพันผ้าแน่นเกินไปต้องระมัดระวังและแก้ไขทันที เพราะอาจเกิด ภาวะ Volk man’s ischemiccontracture
7.การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วยศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary center) ต่อมาจะมีการทดแทนกระดูกอ่อนที่ส่วนปลายกระดูกเป็นศูนย์กระดูกทุติยภูมิท้าให้กระดูกงอกตามยาว
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรงตกจากที่สูง
หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม
อาการและอาการแสดง
1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน
3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมาประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูกมีองค์ประกอบส้าคัญ คือ คอลลาเจนไฟเบอร์ แคลเซี่ยม เซลล์สร้างกระดูกถ้าเชื่อมระหว่างคอร์เทกซ์ด้านนอกเรียกว่าexternal callusถ้าเชื่อมด้านในเรียกว่า endocallus หลังกระดูกหักเนื้อเยื่อที่ถูกท้าลายจะมีการรวมตัวของก้อนเลือดตรงต้าแหน่งปลายหักของกระดูกเพื่อเป็นฐานท้าให้เกิดการสร้างเนื้อเยื่อใหม่ (granulation tissue) จากนั้นประมาณ 8 ชั่วโมง จะมีปฏิกิริยาการอักเสบอย่างเฉียบพลันพร้อมกลับการมีการสร้างเซลล์บริเวณเยื่อหุ้มกระดูกและในโพรงกระดูกกระดูกที่สร้างขึ้นใหม่จะเกิดขึ้นภายหลังกระดูกหักประมาณ48ชั่วโมงและจะใช้เวลาในการเชื่อมกระดูกหักประมาณ6-7 วัน
โดยเฉลี่ยการติดของกระดูกนานประมาณ 6-16 สัปดาห์
จะผ่าตัดกระดูกในกรณี
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
การประเมิน
การซักประวัติ เกี่ยวกับเหตการณ์อุบัติเหตที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกายตรวจเหมือนเด็กทั่วไปและให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับอันตรายต้องทำอย่างนุ่มนวล
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน
การตรวจพบทางรังสี มีความจ้าเป็นในการถ่ายภาพให้ถูกต้องเป็นแนวทางในการรักษาและติดตามผลการรักษา
การรักษา
จุดประสงค์ที่ส าคัญที่สุดในการรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉินคือช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจการเสียเลือด
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวดจัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่งๆโดยใช้เฝือกดาม หรือผ้าพันยืดพยายามจัดกระดูกให้เข้าที่ไม้ดาม
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก(alignment)ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
โรคกระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการ
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ ากว่า 10 ปี ส่วนในทารกอาจเกิดจากการคลอดติดไหล่
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับล าตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็กในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับล าตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าส าลี คล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด การหักของกระดูกบริเวณนี้
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมากพบบ่อยในเด็กวัยก่อนเรียนและวัยเรียน โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemiccontractureในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plastersplint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส(Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่นเกิดจากการกระท าทางอ้อมเช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
พบได้ทุกโดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่งกระดูกถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกเคลื่อนออกจากกันมากๆ ให้รักษาด้วยวิธี Gallow’s หรือ
Bryant’s traction ถ้าอายุมากกว่า 3 ปีแก้ไขโดยท า Russel’s traction
(birth palsy)ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
สาเหต
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่
จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล(Nursing care of facture in children)
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คล้าดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ การยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมงซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
ดึงกระดูก( traction)
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Bryant’s tractionในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fractureshaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ าหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limbใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า tractionในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กที่มีDisplaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่
Skin tractionใช้ในรายที่มีfacture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3 ขวบขึ้นไป tractionแบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peronealnerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s tractionใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femur หรือ fractureบริเวณ supracondyla region of femur การท้า tractionชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้อาจใช้ platescrew, nail หรือ wire แพทย์จะพิจารณาท้าในรายที่กระดูกหักมากเกิดอันตรายต่ออวัยวะโดยรอบ
ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลายด้วยการทดสอบการไหลเวียนเลือด (blanching test)
จัดท่าเด็กโดยยกส่วนที่ท้าผ่าตัดให้สูงกว่าระดับหัวใจ
เพื่อลดอาการบวม และปวด
การท้าแผลจะเปิดท้าแผลทุกวันหรือไม่เปิดท้าแผลเลยจนกว่าจะตัดไหมขึ้นกับลักษณะของแผล การตัดไหมมักจะเอาไว้อย่างน้อย 10-14 วัน
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย อาบน้ า แปรงฟัน ในเด็กเล็กอาจใส่ผ้าอ้อมส าเร็จรูป การส ารวจว่ามีฟันโยกในเด็ก
การตรวจวัดสัญญาณชีพ / ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจชีพจร เช้า เย็น
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด รวมทั้งการบรรเทาอาการรบกวนอย่างต่อเนื่อง
5.การให้สารน้ าทางหลอดเลือดด า / ยา /เอกสารใบเซ็นยินยอม /ผล Lab / ผล X-ray
ด้านจิตใจ
ผู้ป่วยและญาติให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย(เด็กโต)
และญาติ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ผลข้างเคียงของการวางยาชนิด GA/ การจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออก แล้วรีบรายงานแพทย์
ในรายที่มีท่อระบาย ถ้าเลือดออกมากกว่า 3 มล./กก/ ชม. หรือ 200 cc /ชั่วโมงแสดงว่ามีภาวะตกเลือดหลังผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยผลข้างเคียงของการวางยาชนิดGAการจัดท่านอนให้นอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale ถ้าปวดอาจพิจารณาให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ถ้ามีเลือดออกมาผิดปกติให้ใช้ผ้าก๊อสหนา ๆ ปิดทับพันให้แน่นห้ามดึงของเก่าออกแล้วรีบรายงานแพทย์
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจาก
การถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบกระตุ้นให้เด็กมีการออกก าลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับด้วยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมให้เด็กอย่างน้อยทุก2 ชั่วโมง
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว จัดอาหารที่มีกากมาก ดื่มน้ าให้เพียงพอ
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
กิจกรรมการพยาบาล
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
.การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติว่าต้องการช่วยอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการรักษาพยาบาลและตัวบุคลากร
จัดกิจจกรรมหรือเปิดโอกาสให้เด็กและญาติให้มีการระบายออก
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆแต่ต้องประเมินอาการเจ็บปวดด้วย
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาโดยเฉพาะในระยะแรกๆ
กรณีเด็กได้รับการผ่าตัด อาจมีการรัดโดยส าลีพันเฝือกบริเวณข้อศอกข้อเข่า ควรคลาย ส าลีพันเฝือกให้ถึงผิวหนังเด็ก
ผู้ป่วยที่ได้รับการยึดด้วย Kirschner wire ผ่านผิวหนังออกมาข้างนอกเพื่อสะดวกในการถอด ต้องหมั่นท าแผลจนกว่าจะถึงเวลาที่ถอด
6.การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก ห้ามถอดเฝือกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จ าเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที ได้แก่เฝือกมีกลิ่นเหม็น,ปลายมือปลายเท้าชา เขียวคล้ า,มีไข้สูง
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดีกายกล้ามเนื้อและข้อ โดยเฉพาะการก าแบมือบ่อยๆ
รักษาสุขภาพ อนามัยให้แข็งแรงอยู่เสมอ และหมั่นออกกำลัง
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน
Volkmann’ s ischemic contracture
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ (pronation)
ข้อศอกอาจจะงอ
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
ข้อ metacarpophalangeal กระดกขึ้น หรือมี extension
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะแข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
สาเหตุ
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณforearmขาดเลือดไเลี้ยงเนื้อจากเส้นเลือดแดงและดำถูกกดหรือถูกเสียดสีจนช้ำจนทำให้เลือดไหลกลับไม่ได้กล้ามเนื้อจะบวม
ระยะเริ่มเป็น
มีอากการบวมเห็นได้ชัดที่นิ้ว
เจ็บและ ปวด
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวมทำให้นิ้วแข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีดหรือดำคล้ำ
มีอาการชา
ชีพจรคลำได้ไม่ชัดหรือคำไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อมีการ บวม ตึง แข็ง สีคล้ำ ผิวหนังพอง หงิกงอ ทำให้มีอาการของอัมพาฒได้ข้อนิ้วและข้อมือจะแข็ง
ระยะกล้าวเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อทำให้หงิกงอ ใช้งานไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ
อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือกจะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจรเป็นหลักต้องงอพอที่จะจับชีพจรได้เสมอ
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดาการใช้ slab จะท้าให้เฝือกขยายตัวได้
บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคล้าพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
สาเหต
กล้ามเนื้อ Sternocleidomastoidที่เกาะยึดระหว่างกระดูกหลังหู กับส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง ท้าให้เอียงไปด้านที่หดสั้นใบหน้าจะบิดไปด้านตรงข้าม สามารถสังเกตเห็นได้ตั้งแต่อายุน้อยๆจากการที่เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด ทารกอยู่ในท่าที่ไม่เหมาะสมในครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อท้าในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี โดย
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน หรือหันหน้าจัดให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับต้าแหน่งศีรษะ
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth) โดยหาวิธีการให้เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มี
กล้ามเนื้อหดสั้น เช่น การให้นม หาวัตถุล่อให้มองตามจากของเล่นต่าง ๆ จัดท่าขณะนอนหลับ
การผ่าตัด ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลังอายุ 1 ปี ควรรับการรักษาโดยการผ่าตัดอายุที่เหมาะสม ในช่วงอายุ 1 – 4 ปี จะได้ผลดี โดยการผ่าตัด bipolar release ตัดปลายเอ็นยึดเกาะของกล้ามเนื้อด้านคอทั้งสองปลาย หลังผ่าตัดอาจต้องใช้อุปกรณ์พยุงคอ และต้องยืดกล้ามเนื้อเพื่อให้คอตรงและป้องกันการกลับเป็นซ้้า
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ท้าให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน ท้าให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก ท้าให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของล้าไส้ ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย ท้องเดินเรื้อรัง หรือรับประทานสารที่ขัดขวางการดูดซึมของแคลเซียมและวิตามินดี เช่น อะลูมิเนียมไฮดรอกไซค์ บาร์บิทูเรต
โรคไตบางชนิดท้าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficiencyและ Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่้า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวส้าคัญที่ท้าให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูปได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือกะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง หลังหนึ่งขวบแล้วจะพบความผิดรูปมากขึ้น พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้หรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน้้าหนักตัวส้าหรับเด็กคลอดก่อนก้าหนด
ให้ออกก้าลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชัยคลินยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
Bone and Joint infection
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบ Morrey กล่าวว่า ต้องมี อาการ 5 ใน 6 ดังนี้
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ