Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท - Coggle Diagram
ระบบประสาท
-
-
-
-
Spina bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น พบบ่อยที่สุดที่บริเวณlumbosacrumมี hydrocephalus ร่วมด้วยร้อยละ 80-90 อาจเป็นองค์ประกอบหนึ่งของArnold-Chiari type II กว่าร้อยละ 90 เป็น myelomeningocele คือส่วนที่ยื่นออกมามีทั้ง CSF และเนื้อไขสันหลัง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
ก้อนหรือถุงนำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลัง ไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ต่ำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
-
Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral archesไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
-
การตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ อาจมี myelomeningocele ต้องตรวจน้ าคร่ำซ้ำ , CT , พบความผิดปกติ , ใช้ไฟฉายส่องบริเวณก้อนหรือถุง (transillumination test) แยกเพราะ meningocele จะโปร่งใสไม่มีไขสันหลังอยู่
การซักประวัติ : มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์ , ได้ยากันชักประเภท Valporic acid
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อหลังผ่าตัดความผิดปกติขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค พัฒนาการอาจเป็นไปตามวัย หรือเป็นอัมพาตครึ่งล่าง มักทำ V P Shunt ภายหลังทารกมักต้องผ่าตัดหลายครั้ง
-
-
โรคลมชัก (Epilepsy)
ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป แต่ละครั้งห่างกัน 24 ชั่วโมง เป็นผลจากเซลล์ประสาทปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ เกิดเป็นครั้งคราว ทันทีทันใดและรุนแรง
-
-
อาการและอาการแสดง
แบ่งตามระยะเวลาชัก
-
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
-
-
-
-
-
Interictal period
ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่เวลาหลังการชักครั้งที่ 1 สิ้นสุดลง ไปจนถึงเริ่มเกิดชักครั้งใหม่ โดยทั่วไปไม่มีอาการแสดงใดๆ แต่อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
แบ่งตามลักษณะของการชัก
- อาการชักเฉพาะที่ (Partial / Focal seizure)
-
1.2 อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial) ขณะชักจะสูญเสียความรับรู้ เมื่อสิ้นสุดการชัก จะจำเหตุการณ์ช่วงชักไม่ได้
1.3 อาการชักเฉพาะที่ ตามด้วยชักทั้งตัว Focal with secondarily generalized seizures) เป็นอาการชักที่เริ่มจากส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย แล้วค่อยๆกระจายไปอยู่่ส่วนใกล้ๆต่อไป
-
-
-
-
-
-