Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ, นางสาวจิรชยา หุ้มไหม เลขที่…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต มีความอ่อนแอ กว่าเอ็น
เยื่อหุ้มกระดูกสามารถสร้างกระดูกได้ดี
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน
เยื่อบุโพรงกระดูก สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหัก
สาเหตุ
จากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้น
มีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน
อาการ :star:
มีอาการปวดและกดเจ็บ
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหัก
รอยจ้้าเขียว
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การรักษา
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษารักษาโดยไม่ผ่าตัด
ผ่าตัด :!:
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิด
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
เป้าหมายการรักษา :recycle:
ในระยะแรกจะมุ่งลดความเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูกให้มีแนวกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทางานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการ :star:
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา :<3:
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
ในรายที่กระดูกหักเคลื่อนออกจากกันมากๆควรตรึงแขนด้วย traction ตรึงไว้นานประมาณ 3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ
เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น “ Volkman’s ischemic contracture ”
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส ( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio humeral ไม่หมด
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆ
กระดูกปลายแขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทาทางอ้อม
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
อายุต่ำกว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบยาวนาน 3-4 สัปดาห์
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอดติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
กิจกรรมการพยาบาล :recycle:
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คล้ำ ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมงซึ่งประเมินได้จาก 5 PS หรือ 6P
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด หรือเขียวคล้้า
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
การดึงกระดูก (Traction)
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้น
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อน้ำหนัก 1 กิโลกรัม
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ชนิดของ Traction
Skeletal traction the upper limb
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture
Skin traction ในเด็กโต
Russell’s traction
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
จากการขาดวิตามินดี ทำให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อนทาให้เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก
โรคของเมตาบอลิซึมของกระดูกที่พบในเด็ก
สาเหตุ :red_flag:
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการ :star:
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือกะโหลกนิ่ม
หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
ขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม
การรักษา :<3:
แบบประคับประคอง
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน :no_entry:
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ให้ออกกาลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูก (osteomyelitis) และข้อ (septic arthitis) ในเด็ก
การวินิจฉัย :check:
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น ๆ ร่วม
ข้อบวม
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
มีอาการปวดข้อ
อุณหภูมิร่างกาย > 38.3 องศาเซลเซียส
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
คำจำกัดความ :pencil2:
Likely (คล้ายติดเชื้อที่กระดูก)
Definite (ติดเชื้อกระดูกอย่างแน่นอน)
Probable (น่าจะติดเชื้อที่กระดูก)
Osteomyelitis
สาเหตุ :red_flag:
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก
การวินิจฉัย :check:
ผล CBC พบ Leucocytosis , ESR ,
CRP มีค่าสูง
Plain flim พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
มีปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
มีอาการปวด ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น
Bone scan ได้ผลบวก บอกตำแหน่งได้เฉพาะ
การรักษา :<3:
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน :warning:
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูกยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ :red_flag:
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ
เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่
เช่น แบคทีเรีย :
การวินิจฉัย :check:
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของ
การติดเชื้อข้อ
Lab เจาะดูดน้ำในข้อ มาย้อม gram stain ผล CBC
พบ ESR , CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การรักษา :recycle:
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage เพื่อระบายหนอง
การให้ยาปฏิชีวนะ
อาการแทรกซ้อน :warning:
Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทำหน้าที่เสียไป
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis (วัณโรคกระดูกและข้อ)
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก
ข้อเข่า
ข้อเท้า
สาเหตุ :red_flag:
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม
อาการ :star:
อาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ
1 – 3 ปี
กระดูกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนอง
กระดูกสันหลังหรือระบบไหลเวียนเลือด ท่อน้ำเหลืองจากกระดูกที่ติดเชื้อใกล้เคียง
การวินิจฉัย :check:
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้าหนักลด
มีไข้ต่าๆ ตอนบ่ายหรือเย็น
ต่อมน้าเหลืองโต
ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค
ปวดข้ออาการขึ้นกับตาแหน่งที่เป็น
ทดสอบ tuberculin test ผล+
การรักษา :recycle:
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
ให้ยาต้านวัณโรค
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ :warning:
กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต
ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
Club Foot (เท้าปุก)
เท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus) ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus)
สาเหตุ :red_flag:
แบบทราบสาเหตุ
positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิด
neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง
แบบไม่ทราบสาเหตุ (ideopathic clubfoot)
พยาธิสภาพ :pencil2:
Tendon และ Muscle : เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่าปกติ
Joint capsule และ Ligament : จะหดสั้นแข็ง
การวินิจฉัย :check:
ดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะตามคำจำกัดความ “เท้าจิกลงบิดเอียงเข้าด้านใน”
positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา:recycle:
เลือกวิธีการรักษา ขึ้นอยู่กับอายุที่เริ่มรักษา และระดับความแข็งของเท้า
รักษาได้ผลดีในเด็กที่เริ่มรักษาเมื่ออายุน้อยกว่า 1 ปี
จุดมุ่งหมายของการรักษา
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด :
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนัก ได้เหมือนหรือใกล้เคียงปกติ
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติ
ชนิดการรักษา :check:
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด :fire:
2.2. การผ่าตัดกระดูก ทำในอายุ 3 – 10 ปี
2.3 การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก ช่วงอายุ 10 ปี ขึ้นไป
2.1 การผ่าตัดเนื้อเยื่อ ทำในอายุ < 3 ปี
ฝ่าเท้าแบน Flat feet
arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบน
โค้งใต้ฝ่าเท้าสูงเกินไป
โค้งใต้ฝ่าเท้าแบน
อาการ :star:
ปวดฝ่าเท้า
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
สาเหตุ :red_flag:
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา :recycle:
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง
เด็กจะมีการเคลื่อนไหวร่างกายที่ผิดปกติ การทรงตัวที่ผิดปกติ
สาเหตุของโรค :red_flag:
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ทารกคลอดก่อนกาหนด
ขาดออกซิเจน
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหว :check:
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบทาให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกันเด็กควบคุมสมดุลย์ไม่ได้ทำให้โซเซ
Mixed CP เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น ไม่สามารถหดตัวได้
Diplegia คือ involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง
quadriplegia หรือ total body involvement พวกนี้มี involvement ของทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ
Double hemiplegia คือ มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้าง
Hemiplegia คือพวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่ง
การรักษา :<3:
กายภาพบาบัด
อรรถบาบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยาฉีด เฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
ยากิน กลุ่ม diazepam
การผ่าตัด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการ :star:
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ
น้ำหนักลด
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย :check:
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด
การตรวจร่างกาย :check: น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน
หาระดับอัลคาไลน์ฟอสฟาเตส (ALP) และระดับ แลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การรักษา :<3:
รังสีรักษา
เคมีบำบัด
จุดมุ่งหมายหลักของการรักษา คือ “ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด
ป้องกันการแพร่กระจายของโรค ”
Omphalocele
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้องที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์
อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วยลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative :recycle:
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ Silver Zinc Sulfadiazine ทาที่ผนังถุง
เหมาะสาหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
operative :fire:
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
วิธีเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทาเป็นขั้นตอน (staged repair)
Gastroschisis
การที่มีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องเกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย :check:
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง
การดูแลรักษาพยาบาล
การแก้ไขปัญหาฉุกเฉิน :warning:
Incubator หรือ ผ้าอุ่น กระเป๋ าน้าร้อน
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้ antibiotic ได้ทันที
การดูแลโดยทั่วไป :recycle:
การรักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
Volkmann’s ischemic contracture
ลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขน :fire:
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
กล้ามเนื้อแขนลีบแข็ง
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
แขนอยู่ในท่าคว่ามือ (pronation)
สาเหตุ :red_flag:
เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย เนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำถูกกด
แบ่งเป็น 3 ระยะคือ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำมีอาการ ของอัมพาตได้ ข้อนิ้วและข้อมือจะแข็ง เนื่องจากไม่ได้ทำงานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
เกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น
มีอาการชา
ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
เจ็บ และปวด
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
วิธีป้องกัน :no_entry:
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไป
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ด้วยผ้าพันธรรมดา
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ :star:
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid
การรักษา :<3:
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น ได้ผลดีเมื่อทำในเด็กอายุน้อยกว่า1 ปี
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
มีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้อง กระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติ
การวินิจฉัย :check:
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ
การซักประวัติ :ความพิการของกระดูกสันหลัง
อาการแสดง :star:
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
การรักษา :<3:
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation)
กายภาพบำบัด , บริหารร่างกาย
การผ่าตัดเป็นการรักษาสมดุลของลำตัว
Lordosis
Lordosis
Kyphosis
นางสาวจิรชยา หุ้มไหม เลขที่ 13 ห้อง 2A รหัส 613601014