Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Emotional and Mood disorders, (ปราโมทย์ สุคนิชย์,2560), (จตุพร แสงกูล…
Emotional and Mood disorders
Depressive disorders
Major depressive disorder : MDD
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V
อาการเหล่านี้ทำให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีนัยสำคัญทางการแพทย์ หรือทำให้เกิดความ ผิดปกติ หรือบกพร่องอย่างมากในการทำบทบาทหน้าที่ต่างๆ การใช้ชีวิตในสังคม
อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคทางกาย หรือการได้รับสารเสพติด
มี 5 อาการหรือมากกว่า อาการเป็นอยู่นาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป มีอาการเกือบตลอดเวลา
.3 น้ำหนักลดลงหรือเพิ่มขึ้นมาก
4 นอนไม่หลับ หรือหลับมากแทบทุกวัน
2 สนใจหรือความเพลินใจในกิจกรรมต่างๆ แทบทั้งหมดลดลงอย่างมากแทบทั้งวัน
5 กระวนกระวาย อยู่ไม่สุข
1 มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทั้งวัน
6 อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง
7 รู้สึกตนเองไร้ค่า หรือรู้สึกผิดอย่างไม่สมเหตุผล
8 สมาธิลดลง ใจลอย ตัดสินใจอะไรไม่ได้ หรือลังเลใจไปหมด
9 คิดเรื่องการตาย คิดอยากตาย
อาการ
cognitive
ความสามารถการตัดสินใจไม่ดี คิดไม่ออก
behavioral
แยกตัวออกจากสังคม
emotional
หดหู่ ท้อแท้ ขาดชีวิตชีวา เบื่อหน่าย
physical
น้ำหนักลดลง อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
Dysthymic disorder
เกณฑ์การวินิจฉัยโรค
ในระยะ 2 ปี มีอารมณ์เศร้า (depressed mood) เกือบทั้งวัน และมี อาการต่อไปนี้ 2 อาการหรือมากกว่า
นอนไม่หลับ หรือหลับมากผิดปกติ
อ่อนเพลีย ไร้เรี่ยวแรง
เบื่ออาหารหรือเจริญอาหารมาก
รู้สึกสิ้นหวัง
สมาธิลดลง ตัดสินใจอะไรไม่ได้
ในระยะ 2 ปี ที่มีความผิดปกติ ไม่มีช่วงที่ปราศจากอาการเหล่านี้นานเกิน 2 เดือน และ อาการไม่ได้เป็นผลโดยตรงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคทางกาย หรือการได้รับสารเสพติด
การรักษา
กาย
ยาต้านอาการซึมเศร้า กลุ่ม SSRI
รักษาด้วยไฟฟ้า
จิตสังคม
Cognitive therapy
Behavioral therapy
Psychoanalytically oriented psychotherapy
Group therapy
การพยาบาล
ป้องกันอันตรายจากการทำร้ายตนเองหรือการฆ่าตัวตาย
ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญปัญหา และสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม
Bipolar disorders
Hypomania episode
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V
มีอาการ และอาการแสดงคล้ายแมเนีย (mania) แต่ไม่รุนแรงและไม่ต่อเนื่องจนทำให้เกิดความบกพร่องหรือ กระทบกระเทือนต่อการการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ การเรียน หรือการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ไม่พบอาการประสาทหลอนและหลงผิด
อาการจะคงอยู่ ตลอดอย่างชัดเจนอย่างน้อย 4 วัน อาการไม่รุนแรงจนต้องเข้ารักษาในโรงพยาบาล
อาการ
ด้านอารมณ์
อารมณ์แจ่มใส อารมณ์ดี และดูมีความสุขกว่าปกติ
ด้านพฤติกรรม
มีพลังในการทำกิจกรรมค่อนข้างมาก สนใจในกิจกรรมใหม่ๆ แปลกๆ
เข้าสังคมเก่ง
ด้านความคิด
รับรู้ว่าตนเองมีความสำคัญกับบุคคลอื่นมาก มีความสามารถเหนือผู้อื่น
Major depressive episode
การวินิจฉัยของ DSM-V มี การวินิจฉัยเช่นเดียวกับโรคซึมเศร้า
Manic episode
อาการ
Hyperconfident
Hyperactive
Hypersexual
Hypertalkative
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V
1.มีอารมณ์สนุกสนานและครึกครื้นร่าเริงผิดปกติ หรือมีอารมณ์หงดุหงิด
อย่างผิดปกติ และคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนอย่างน้อย 1 สัปดาห์
2.พบอาการต่อไปนี้อย่างนี้ 3 อาการ หรือถ้าเป็นอารมณ์ หงุดหงิดโกรธง่ายต้องมีอาการอย่างน้อย 4 อย่าง
พูดมากกว่าปกติ หรือ พูดไม่ยอมหยุด
ความคิดเปลี่ยนเรื่องเร็ว (flight of idea)
ไม่มีสมาธิ วอกแวกง่าย
มีการทำกิจกรรมมากเกินปกติ
ความต้องการการนอนหลับลดลงกว่าปกติ
หมกมุ่นอย่างมากกับการทำกิจกรรมที่ทำให้ตนเองเพลิดเพลิน โดยไม่ยับยั้งชั่งใจ
ความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าสูงเกินจริง มีความสำคัญมากผิดปกติ
3.อาการดังกล่าวรุนแรงจนมีผลเสียต่อการดำเนินชีวิต หน้าที่การงาน การเข้าสังคม
4.อาการมิได้เกิดจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร เช่น สารเสพติด ยา การเจ็บป่วยทางกาย
การพยาบาล
ยอมรับในความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออกมา
สอนผู้ป่วยให้มีทักษะในเผชิญต่อความเครียด การคลายเครียด การควบคุมอารมณ์
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการใช้พลังความก้าวร้าวออกในทางสร้างสรรค์และเหมาะสม เช่น การ ออกกำลังกาย
Bipolar I
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V
1.มีอาการเข้าได้กับระยะ manic (manic episode) อย่างน้อย 1 ครั้ง
2.อาการไม่ได้เกิดจากโรค schizoaffective disorder `หรือโรคจิตชนิดอื่น
Bipolar II
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V
มีอาการของระยะ Hypomanic episode อย่างน้อย 1 ครั้ง และมีอาการของ ระยะซึมเศร้าอย่างรุนแรง (Major depressive episode) อย่างน้อยหนึ่งครั้ง
ไม่เคยเกิดภาวะแมเนีย (Manic episode)
อาการไม่ได้เกิดจากโรค schizoaffective disorder `หรือโรคจิตชนิดอื่น
อาการของภาวะซึมเศร้าก่อให้กิดความทุกข์ทรมานอย่างมีความสำคัญทางการแพทย์ หรือ กิจกรรมทางสังคม การงาน หรือด้านอื่นๆ ที่สำคัญบกพร่องลง
Cyclothymic Disorder
อาการทางคลินิก
ซึมเศร้าสลับกับระยะไฮโพแมเนียหลายๆ ครั้ง
อาจจะเปลี่ยนแปลงรูปแบบภายในเวลาไม่กี่ชั่วโมง
เกณฑ์การวินิจฉัย DSM-V
มีช่วงที่มีอาการของ hypomania อยู่มาก และช่วงที่มีอาการซึมเศร้าแต่ไม่ เข้าเกณฑ์ของ ภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major depressive episode) เป็นเวลาอย่างน้อย 2 ปี (ในเด็กและ วัยรุ่นต้องเป็นอย่างน้อย 1 ปี)
ในระยะเวลา 2 ปีข้างต้น (1 ปีในเด็กและวัยรุ่น) ผู้ป่วยต้องมีช่วงมีอาการ hypomania ร่วมกับ ช่วงที่มีอาการซึมเศร้ารวมแล้วอย่างน้อยครึ่งหนึ่งของระยะเวลาทั้งหมด และไม่มีระยะเวลาที่เป็นปกติ/ไม่มี อาการนานเกินกว่า 2 เดือนในแต่ละครั้ง
ไม่มีอาการที่เข้าได้กับเกณฑ์วินิจฉัยภาวะซึมเศร้าชนิดรุนแรง (Major depressive episode) , ภาวะคลุ้มคลั่งหรือเมเนีย (Manic episode) หรือ ระยะไฮโปแมเนีย (hypomania)
อาการไม่ได้เกิดจากโรค schizoaffective disorder `หรือโรคจิตชนิดอื่น
อาการเหล่านี้ไม่ได้เกิดจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร เช่น สารเสพติด ยา หรือความ เจ็บป่วยทางกาย
อาการที่เกิดขึ้นก่อให้ผู้ป่วยมีความทุกข์ทรมานอย่างมีความสำคัญทางการแพทย์ หรือกิจกรรม ทางสังคม การงาน หรือด้านอื่นๆ ที่สำคัญบกพร่องลง
Anxiety disorders
Separation Anxiety Disorder
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
B.อาการดังกล่าวต้องเป็นอย่างน้อย 4 wks.ในเด็กและวัยรุ่น และ 6 เดือนในวัยผู็ใหญ่
C. อาการของภาวะซึมเศร้าก่อให้กิดความทุกข์ทรมานอย่างมีความสำคัญทางการแพทย์ หรือผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
A.มีอาการกลัวหรือกังวลอย่างไม่เหมาะสมต่อการแยกจากผู้เลี้ยงดู และไม่เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย
2.กังลวมากเป็นประจำว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ต้องพลัดพลาก
3.กังวลมากเป็นประจำว่าเหตุการณ์ต่อไปนี้จะเกิดขึ้้นกับตน เช่น ป่วย เจ็บ ตาย ทำให้ต้องพลัดพลากจากผู้เลี้ยงดู
1.มีความทุกข์หรือกังวลอย่างมากเมื่อต้องแยกจากหรือคิดว่าต้องแยกจากผู้เลี้ยงที่ดูแลใกล้ชิด
4.ไม่อยากหรือไม่ยอมออกจากบ้าน หรือไปในสถานการณ์ที่ต้องแยกจากผู้เลี้ยงดู
5.กลัวการอยู่คนเดียว
6.ไม่อยากหรือไม่ยอมเข้านอนตามลำพัง
7.ฝันร้ายบ่อยๆ เกี่ยวกับเรื่องการพลัดพลาก
บ่นเสมอเกี่ยวกับอาการทางกายเมื่อไม่มีผู้เลี้ยงดู เช่น ปวดหัว ปวดท้อง
การรักษาและการช่วยเหลือดูแล
ให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษา การเลี้ยงดู
.ใช้เทคนิคการค่อยๆเผชิญกับสิ่งที่กลัว
CBT
Selective Mutism
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
A.ไม่พูดในสถานการณ์ที่ควรพูด แต่พูดได้ปกติ
B.อาการดังกล่าวส่งผลต่อความสามารถในการเรียน การดำเนินชีวิตในสังคม
C.มีอาการอย่างน้อย 1 เดิอน โดยมิได้เป็นเดือนแรกของการเริ่มไปโรงเรียน
D.อาการดังกล่าวไม่ได้เกิดจากความไม่เข้าใจภาษาหรือขาดโอกาส
E.อาการดังกล่าวต้องไม่ใช่โรคจิตเวชชนิดอื่น
การรักษาและการช่วยเหลือดูแล
CBT
ยากลุ่ม SSRI
สอนสุขภาพจิตศึกษาแก่ครอบครัว
Spefic Phobia
กลัวมากไม่มีเหตุผล ไม่สามารถหักห้ามความกลัวได้
มีอากกานานอย่างน้อย 6 เดือน
แบ่งได้
Animal type
Natural environment type
Blood-Injection-Injury type
Situation type
Other type
การรักษา
Exposure therapy
Social Phobia
กลัวต่อการที่ต้องไปอยู่ในสถานการณ์ที่คิอว่าตนเองถูกผู้อื่นจับจ้อง
หลีกเลี่ยงการเข้าสังคม
มีอาการดังกล่าวต่อเนื่องกันอย่างน้อย 6 เดือน
Panic Disorder
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
B.หลังจากเกิดอาการ panic attack แล้วจะต้องมีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 1ครั้ง ภายในระยะเวลา 1 เดือน
1.กังวลอยู่ตลอดเวลาว่าจะมีอาการเกิดขึ้นมาอีก
2.มีพฤติกรรมเปบี้ยนไปอย่างชัดเจน หลังจากเกิดอาการ panic attack
C.อาการ panic attack ไม่ได้เป็นผลจากยาหรือสารเสพติดหรือโรคทางกาย
A.มีอาการ panic attack เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดว่าจะเกิดเมื่อไรซ้ำๆบ่อยๆ
D.อาการ panic attack ไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ
Panic attack
อาการคงอยู่ประมาณ 15-20 นาทีแล้วค่อยๆหายไป
อย่างน้อย 4 อาการขึ้นไป
1.ใจสั่น ใจเต้นแรง
2.เหงื่ออกมาก
3.มือสั่น ตัวสั่น
4.หายใจลำบาก หายใจเหนื่อยหอบ
5.รู้สึกอึดอัด รู้สึกว่ามีก้อนติดลำคอ
6.เจ็บหน้าอก แน่นหน้าอก
7.คลื่นไส้ ปั่นป่วนในช่องท้อง
8.มึนงง วิงเวียนหัว
9.หนาวๆร้อนๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
10.Paresthesia
11.Derealization หรือ Depersonalization
12.กลัวควบคุมตัวเองไม่ได้
13.กลัวว่าตนเองกำลังจะตาย
การรักษา
ยากลุ่ม SSRI
CBT
การพยาบาล
จัดให้ผู้ป่วยอยู๋ในที่เงียบสงบแล่ในะอยูสิ่งแวดล้อมที่มีตัวกระตุ้นน้อย
สอนทักษะวิธีการลดความวิตกกังวล
สอน แนะนำ และร่วมค้นหาวิธีการปรับตัวใหม่ๆที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
Agoraphobia
กลัวหรือกังวลที่ต้องอยู่ในบางสถานการณ์
อย่างน้อย 2 จาก 5 สถานการณ์
การอยู๋ในที่ปิด เช่น โรงภาพยนต์
การยืนต่อแถวหรือท่ามกลางกลุ่มคน
การอยู๋นอกบ้านคนเดียว
การอยู๋ในที่เปิดโล่ง เช่น ลานจอดรถ
การใช้ระบบขนส่งสาธารณะ
Generalized Anxiety Disorder
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
C.มีอาการดังนี้อย่างน้อย 3 อาการ และเป็นเกือบทุกวันในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
3.มีปัญหาด้านสมาธิ ความจำ
4.หงุดหงิด
2.เหนื่อยง่าย
5.ปวดตึงกล้ามเนื้อ
1.กระสับกระส่าย
6.มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน
D.อาการดังกล่าวก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน รบกวนชีวิตประจำวัน
B.ไม่สามารถควบคุมความกังวลได้
E.อาการไม่ได้เกิดจากผลของยาหรือสารเสพติดหรือโรคทางกาย
A.มีความวิตกกังวลมากเกินเหตุ
F.อาการดังกล่าาวไม่ได้เกิดจากโรคจิตเวชอื่นๆ
การักษา
ยากลุ่ม SSRI
CBT
Obsessive Compulsive and Related Disorder
Obsessive Compulsive Disorder (OCD)
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
B.อาการย้ำคิดย้ำทำ ทำให้สิ้นเปลืองเวลา (>1hr./day)
C.อาการไม่ได้เกิดจากการใช้ยา สารเสพติดหรือโรคทางกาย
A.มีอาการย้ำคิด หรือย้ำทำหรือทั้ง 2 อาการ
D.อาการไม่เกิดจากโรคจิตเวชอื่น
การรักษา
ยากลุ่ม SSRI
CBT
Family therapy
การพยาบาล
จัดตารางกิจกรรมและให้เวลาผู้ป่วยในการทำกิจกรรมซ้ำๆ โดยค่อยๆลดเวลาลง
ให้เเรงเสริมทางบวก เมื่อผู้ป่วยสามารถปรับอาการย้ำคิดย้ำทำ
Body Dysmorphic Disorder : BDD
หมกมุ่นว่าบางส่วนของร่างกายของตนเองผิดปกติ น่าเกลียด
การรักษา
CBT
ยากลุ่ม SSRI
การพยาบาล
เปิดโอการให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ว่าเขารู้สึกอย่างไร
กำหนดระยะเวลาในการส่องกระจกของผู้ป่วย
Hoarding Disorder
ทำใจทิ้งสิ่งของในครอบครองได้ลำบาก
การรักษา
CBT
ยากลุ่ม SSRI
Trichotillomania
ถอนผมหรือขนของตนซ้ำๆ
การรักษา
CBT
ยากลุ่ม SSRI Lithium
Excoriation Disorder
แกะเเกาผิวหนังซ้ำๆ
การรักษา
รักษาอาการทางผิวหนัง
ยากลุ่ม SSRI
CBT
Truama and stressor-related disorder
Reactive Attachment Disorder
มีพฤติกรรมที่เป็นรูปแบบของความผูกพันธ์ที่ผิดปกติ
ไม่ยอมให้แตะต้องตัว
การรักษา
เน้นการให้ความรู้ ทัศนคติที่ถูกต้อง
ให้ความรู้ทักษะในการดูแลเด็กและการสร้างสัมพันธภาพกับเด็กแก่ผู้เลี้ยงดู
Disinhibited Social Engagement Disorder
มีพฤติกรรมการเข้าสังคมที่ผิดปกติ
ชอบเข้าหาคนแปลกหน้าหรือผู้ใหญ่ที่ตนไม่คุ้นเคย
Posttraumatic Stress Disorder:PTSD
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
B.มีอาการเกี่ยวกับเหตุการณ์ผุดขึ้นมาซ้ำๆ
ฝันร้ายเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้้น
ทุกข์ใจเมื่อเจอเหตุการณ์คล้ายกับเหตุการณ์นั้น
E.มีอาการตื่นตัวเปลี่ยนไปอย่างมากหลังประสบเหตุการณ์นั้น
A.ผู้ป่วยเผชิญหรือถูกคุกคามจากความตาย
เผชิญเหตุการณ์โดยตรง
เป็นผู้พบเห็น
D.มีความนึกคิดและอารมณ์เปลี่ยนไปในทางลบหลังเกิดเหตุการณ์
F.มีอาการในข้อ B C D E นานกว่า 1 เดือน
H.อาการไม่ได้เป็นผลจากการใช้ายา สารเสพติด หรือโรคทางกาย
G.ทำให้เกิดความทุกข์ทรมานและบกพร่องในหน้าที่ทางสังคม
C.มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงเมื่อเจอสิ่งเร้าที่สัมพันธ์กับเหตุก่รณ์นั้น
การรักษาและการช่วยเหลือดูเเล
ยากลุ่ม SSRI
ให้กำลังใจ
ส่งเสริมให้ระบายความคิด
Acute Stress Disorder :ASD
อาการและการรักษาคล้าย PTSD
มีอาการตั้งแต่ 3วัน-1เดือน
เหตุการณ์กระทันหัน เช่น สูญเสียคนรัก
การพยาบาล
ช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับในเหตุการณ์
กระตุ้นให้ผู้ป่วยพูดระบายในสิ่งที่กำลังกระทบกระเทือนใจ
Adjustment Disorder
กดดันทำให้เกิดความเครียดจนไม่สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
C.อาการดังกล่าวต้องไม่เกี่ยวกับโรคจิตเวชอื่น
D.อาการดังกล่าวไมใช่ภาวะเศร้าโศรกเสียใจจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
E.ผู็ป่วยมีอาการอยู่นานไม่เกิน 6 เดือน
B.อาการดังกล่าวส่งผลให้ผู้ป่วยมีปัญหา อย่างใดอย่างหนึ่ง
มีปัญหาทางด้านกิจกรรมเกี่ยวกับสังคม
มีอาการตึงเครียดมากเกินไป
A.มีอาการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์หรือพฤติกรรม ภายใน 3 เดือนหลังเกิดเหตุการณ์
การรักษาและการช่วยเหลือดูแล
พิจารณาให้ยาตามอาการ
จิตบำบัดแบบประคับประคอง
ครอบครัวบำบัด
Somatic symptom and related disorder
Somatic Symptom Disorder
เกณฑ์การวินิจฉัยของ DSM-V และอาการทางคลีนิค
A.มีอาการทางกายตั้งแต่ 1 อาการขึ้นไป ที่เป็นปัญหาต่อการดำดนินชีวิตประจำวัน
B. มีปฏิกิริยาตอบสนองกด้านความคิด อารมณ์ พฤติกรรม
มีความวิตกกังวลสูง เกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง
ทุ่มเทเวลาและกำลังเป็นอย่างมากไปกับปํญหาสุขภาพ
คิดอย่างต่อเนื่องและไม่สมเหตุผลเกี่ยวกับความรุนแรงของอาการทางกายนั้น
C.มีปฏิกิริยาที่ตอบสนองที่ผิดปกติต่ออาการทางกายอย่างน้อย 6 เดือน
การรักษาและการช่วยเหลือดูแล
ยากลุ่มคลายกังวล
CBT
ชักจูงให้ผู้ป่วยเบี่ยงเบนพฤติกรรม
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดระบายความรู้สึก ว่าเขขารู้สึกอย่างไร
หันเหความสนใจของผู้ป่วยไปที่การเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
Illness Anxiety Disorder
หมกหมุ่นกลัวว่าจะเป็นโรคร้ายแรง (>6 เดือน )
ตรวจร่างกายบ่อยๆ เพื่อหาความเจ็บป่วย
การรักษา
ให้ความรู้และทักษะในการจัดการกับความเครียด
สอนผู้ป่วยปรับตัวกับเรื้อรัง
Conversion Disorder
มีอาการผิดปกติทางร่างกายมากว่า1 อย่าง เกี่ยวกับการทำงานของกล้ามเนื้อที่จิตใจบังคับได้
อัมพาต แขนขาอ่อนแรง
ชา ตั่วสั่น มือสั่น ชักกระตุก
การรักษาและการดูแลช่วยเหลือ
บอกกับผู้ป่วยเเบบตรงไปตรงมา
ป้องกันไม่ให้เกิด Secondary gain
Factitious Disorder
On Another
แกล้งทำความเจ็บป่วยให้ผู้อื่น ซึ่งมักจะเป็นเด็กเล็ก
On self
แสดงบทบาทของการเป็นคนป่วยเพื่อให้ได้รับการรักษา
การรักษาและการช่วยเหลือดูแล
ลดความเสี่ยงที่จะทำให้ชีวิตหรือเกิดการเจ็บป่วยเพิ่ม
(ปราโมทย์ สุคนิชย์,2560)
(จตุพร แสงกูล,2561)