Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture) - Coggle Diagram
ภาวะมดลูกแตก (Uterine rupture)
ลักษณะ
Complete rupture รอยแตกทะลุชั้น peritoneum ทารกมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
Incomplete rupture มีการฉีกขาดเฉพาะชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น
Dehiscence มดลูกปริ แผลเก่าปริแยกจากกันโดยเยื่อหุ้มรกยังไม่แตก
ความหมาย
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลุก ในขณะตั้งครรภ์หลัง 28 สัปดาห์ และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งครรภ์ เจ็บครรภ์ หรือระหว่างคลอด
ชนิด
Rupture previous uterine scar มดลูกแตกจากแผลเป็นของการผ่าท้องทำคลอดในการผ่าตัดชนิด classical
Traumatic rupture of the intact uterus เกิดจากอุบัติเหตุที่มีการบาดเจ็บบริเวณช่องท้อง และจากการทำสูติศาสตร์หัตถการต่างๆ
Spontaneous rupture of the intact uterus รุนแรง พบได้บ่อยในมารดาตั้งครรภ์หลังอายุมาก ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
เตือนว่ามดลูกจะแตก
มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา(Tetanic uterine contraction) ไม่สัมพันธ์กับความก้าวหน้าของการคลอด
ปวดท้องน้อยเหนือหัวเหน่าอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว หายใจไม่สม่ำเสมอ
กดเจ็บบริเวณหัวเหน่า โดยเฉพาะบริเวณมดลูกส่วนล่าง
พบ Bandl's ring ตรวจหน้าท้องเห็นมดลูกเป็นสองลอน
ตรวจภายในพบปากมดลูกลอยสูงขึ้น อาจพบปากมดลูกบวม
FHR ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
มดลูกแตกแล้ว
อาการปวดทุเลาลง รู้สึกเหมือนมีการแยกออกของอวัยวะในช่องท้อง
บางรายอาจมีอาการ shock
คลำส่วนของทารกได้ชัดเจนมากขึ้น
FHS เปลี่ยนแปลง หรือหายไป
ตรวจภายในพบว่าส่วนนำถอยกลับ ลอยสูงขึ้น หรือไม่พบส่วนนำ
อาจคลำได้ก้อนหยุ่นๆข้างมดลูก
ปวดท้องอย่างรุนแรง อึดอัดเนื่องจากมีเือด น้ำคร่ำและตัวทารก ก่อความระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้อง
สาเหตุ
รอยแผลผ่าตัดเดิมที่หน้าท้อง
การทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
การบาดเจ็บที่ช่องท้องอย่างรุนแรงจากอุบัติเหตุ
ผ่านการตั้งครรภ์และคลอดบุตรจำนวนมาก
การใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
รกฝังตัวลึก
การคลอดติดขัดจากภาวะ CPD ,ทารกท่าผิดปกติ,มีก้อนเนื้องอกขวางอยู่
ผลกระทบ
ต่อมารดา
อาจเสียชีวิตจากการเสียเลือดทั้งก่อนคลอดและหลังคลอด
มีโอกาสติดเชื้อ
ต่อทารก
อาจเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน
การรักษา
NPO
2.แก้ไขภาวะ shock ให้ RLS เตรียมเลือดและให้ oxygen
3.เตรียมผ่าตัดเปิดช่องท้อง
consult กุมารแพทย์เตรียมช่วยฟื้นคืนชีพทารก
5.เย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก
6.ถ้าเลือดออกอีกอาจต้องผ่าตัด เพื่อผูก hypogastric arteries
7.ให้เลือดทดแทน และให้ยาปฏิชีวนะ
การพยาบาล
ป้องกันมดลูกแตก
มารดาที่มีประวัติคลอดยาก ผ่าตัดมดลูก เคยได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการควรแนะนำฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดหน้าท้อง ควรคุมกำเนิดและเว้นระยะห่างการตั้งครรภ์อย่างน้อย 2 ปี
ในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ผิดปกติ หรือมีภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ควรรายงานแพทย์เพื่อพิจารณาผ่าท้องทำคลอด
ในระยะคลอด
1.NPO
2.สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก หากพบ Bandl's ring หน้าท้องแข็งตลอดเวลา มารดากระสับกระส่าย ปวดท้องมาก แน่นในท้อง ฟัง FHS ไม่ได้ยินให้รายงานแพทย์
มีอาการนำของมดลูกแตก
1.ถ้าให้ oxytocin อยู่ ให้หยุดทันที
2.notify แพทย์
3.ให้ oxygen 5 LPM แก่ผู้คลอด
4.บันทึก FHR ทุก 5 นาที
เมื่อมดลูกแตกแล้ว
1.notify แพทย์
2.NPO
3.นอนหงายราบศีรษะต่ำ
4.keep warm
5.ให้ RLS
6.ให้ oxygen 5 LPM
7.เจาะเลือดส่งขอเลือดทดแทน
8.เตรียมผู้คลอดเพื่อผ่าตัด
9.v/s ทุก 5-15 นาที
10.เตรียมอุปกรณ์ฟื้นคืนชีพทารก