Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย - Coggle Diagram
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
การเจ็บป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นเหตุการณ์ที่สําคัญในชีวิตของเด็ก
ทําให้มีการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
ส่งผลกระทบในระยะยาว
ด้านร่างกาย
การถดถอยของพัฒนาการ
การนอนหลับผิดปกติ ฝันร้าย
ด้านจิตใจและอารมณ์
โศกเศร้า
เฉื่อยชาและมีอารมณ์หงุดหงิด
วิตกกังวลจากการพรากจาก
ด้านสังคมและพฤติกรรม
ไม่อยู่นิ่ง
ก้าวร้าว
แยกตัว
ประเภท
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี) มี 2 ประเภท
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี) มี 2 ประเภท
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกายระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ ) มี 2 ประเภท
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายท างานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจเกี่ยวกับความตายของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย อายุ > 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทำให้เด็กบางคนกลัวการนอนกลัวว่าหลับแล้วอาจจะตายแล้วไม่ตื่นอีกเลย
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
ด้วยข้อจำกัดของวัย คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
วัยเรียน
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตายจากไป
สนใจพิธีการในงานศพ
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
เป็นวัยที่มีความเป็นส่วนตัว เป็นตัวของตัวเองมาก ต้องการจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับตัวเองด้วยตัวเอง
ไม่ต้องการการบังคับ หรือควบคุม
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
พ่อแม่หรือผู้ดูแล ควรให้ความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการแม้ว่าเด็กไม่ได้ร้องขอ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
2.ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
3.ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
5.ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกและปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยรุนแรงของเด็ก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอ านาจต่อรอง
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกเศร้า
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ
ความเข็มแข้งของบิดามารดา
ความสามารถในการปรับตัวครั้งก่อน ๆ
ปัจจัยการช่วยเหลือค้ำจุน
ความเคร่งเครียดที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากระบบครอบครัว
วิธีปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์โรคและการรักษา
ความเชื่อถือเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา
ประสบการณ์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการอยู่ในโรงพยาบาล
แบบแผนการสื่อสารของสมาชิกในครอบครัว
ความรุนแรงของการรักษา
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สําคัญของการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การร่วมมือ (Collaboration)
ครอบครัวและบุคลากรวิชาชีพมีความเท่าเทียมกันในการ เป็นหุ้นส่วนดูแล(Partnership) ในการวางแผน และให้การดูแลเด็กป่วย
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ของเด็ก/ครอบครัว
ยอมรับว่าผู้ป่วย/บิดามารดา/บุคคลที่มีความสําคัญต่อ ผู้ป่วย ว่าเป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพ
ตระหนักว่าบิดามารดามีความต้องการในการมีส่วนร่วม ในการดูแลเด็กในระดับแตกต่างกัน
ข้อมูลที่ได้รับจากบุคลากรทีมสุขภาพและบิดามารดา จะ มีความสําคัญในการตัดสินใจและการมีส่วนร่วมในการ วางแผนดูแลเด็กป่วย
ใช้การปฏิสัมพันธ์ในการสร้างความมั่นใจและเพิ่ม ความสามารถของสมาชิกในครอบครัว
การสนับสนุน (Support)
ตระหนักถึงอิทธิพลของการที่เด็กเข้ารับการรักษาอยู่ใน โรงพยาบาล ที่มีต่อพัฒนาการของเด็ก และบทบาทของ บิดามารดา
ให้ช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและ อารมณ์ของเด็กและครอบครัว
ตระหนักว่าแต่ละครอบครัวมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เป็น ลักษณะเฉพาะและต้องการรับทราบข้อมูลและความ ช่วยเหลือที่แตกต่างกัน
ปรับบทบาทจากผู้กระทําโดยตรงมาเป็นผู้สนับสนุนให้ผู้ป่วย และครอบครัวกระทําด้วยตนเอง
กระตุ้นและช่วยเหลือให้ครอบครัวเหล่านี้ให้มีการช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
เคารพและยอมรับในความแตกต่าง
ค่านิยม
ความเชื่อ
ความเป็นบุคคล
ความมีอิสระทางความคิด
วัฒนธรรม
การตัดสินใจ
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
4.เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
3.มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จําเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่องและไม่ลําเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสมในลักษณะของการสนับสนุน
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
อธิบายคําศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาแตกต่างกัน
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัว ค่านิยม ความ เชื่อและการตัดสินใจของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอํานาจ (Empowerment) ของ ครอบครัว โดยเริ่มจากจุดแข็งที่ครอบครัวมีอยู่
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
2.สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
สื่อสารทําความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
มีการสื่อสารในทางที่ดีเปิดเผย และต่อเนื่อง
วางแผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของ ครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายระหว่างกลุ่มแพทย์และเครือข่ายผู้ปกครอง
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
ให้คุณค่า ความสําคัญของการช่วยเหลือระหว่าง ครอบครัว
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
ให้ความสําคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสําคัญ
สนับสนุนครอบครัวให้ทําหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยใน โรงพยาบาล
ให้ความสําคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
ร่วมกับครอบครัวในการค้นหาทางเลือกต่างๆ ในการดูแลต่างๆ
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และ ตอบสนองความต้องการของครอบครัว
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการดูแลแบบสหสาขา เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่สําคัญเกี่ยวกับการดูแลเด็กกับวิชาชีพอื่น
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
เสริมสร้างพลังอํานาจแก่ครอบครัวในการควบคุมชีวิตของครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงในทางบวก
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ และทรัพยากรกับครอบครัว
โดยพยาบาลต้องตระหนักว่าบิดามารดามีความเสมอภาคกับตน
มีสิทธิที่จะตัดสินใจว่าอะไรคือความสําคัญของเด็กและครอบครัว
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัว
โดยให้โอกาสบิดามารดาแสดงความสามารถและสมรรถนะ
เพื่อตอบสนองความต้องการของเด็กและครอบครัวในการดูแลเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
พยาบาลสร้างกลไกความสัมพันธ์กับบิดามารดาเป็นแบบหุ้นส่วน โดยมีข้อตกลงว่า
ใครจะเป็นคนให้การพยาบาลเด็กด้านใด
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การวางแผนและการดําเนินการ ประกอบไปด้วย
2.3 การประสานงาน (coordination) ควรมีการประสานงานในด้านต่างๆ ดังนี้
การจัดกิจกรรมส่งเสริมฟื้นฟูพัฒนาการด้านความรู้และสติปัญญาขณะเจ็บป่วย
ควรจัดบริการสอนพิเศษแก่เด็กโดยการประสานกับหน่วยต่างๆ
2.4 การสื่อสาร (communication)
การสื่อสารกับเด็กมีความแตกต่างตามระยะพัฒนาการของเด็ก
โดยเฉพาะเมื่อต้องทําหัตถการทางการพยาบาลควรคํานึงถึงความเหมาะสมตามระยะพัฒนาการ ดังนี้
วัยเตาะแตะ ให้ข้อมูลกับบิดามารดาร่วมกับการให้ข้อมูลเด็กผ่านกิจกรรมการเล่น เช่นเล่นตุ๊กตา เล่านิทาน
วัยก่อนเรียน บางเรื่องต้องให้ข้อมูลผ่านบิดามารดา บางเรื่องสามารถที่จะสื่อสารกับเด็กโดยใช้วิธีให้เด็กได้
วัยเรียน สามารถอธิบายผ่านหนังสือภาพ แผ่นพับ ภาพพลิก ได้เข้าใจโดยไม่ต้องมีบิดามารดาช่วย
วัยรุ่นสามารถสื่อสารได้หลายรูปแบบ
แผ่นพับ
ภาพพลิก
วัยทารก ให้ข้อมูลกับบิดามารดา
2.2 การอํานวยความสะดวก (facilitative)
ควรมีการอํานวยความสะดวกแก่เด็กและบิดามารดาดังนี้
นโยบายของโรงพยาบาล เป็นสิ่งกําหนดแนวทางในการปฏิบัติ ในเด็กควรมีการ
ยืดหยุ่น ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับมากเกินไป
อนุญาตให้เด็กสวมใส่เสื้อผ้าของตนเองหากเด็กต้องการ
ไม่จํากัดเวลาในการรับประทานอาหาร
การไม่จํากัดเวลาในการเยี่ยม
อนุญาตให้บิดามารดาอยู่กับเด็ก
การส่งเสริมโรงพยาบาลที่เป็นมิตรกับเด็ก
ให้การพยาบาลโดยยึดหลักโรงพยาบาล 3ดี ได้แก่
ให้บริการที่ดี
การบริหารจัดการดี
การสร้างบรรยากาศดี
มีแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว 2 แนวทาง
1) การทําให้เด็กไม่ตื่นกลัวขณะที่อยู่รับการรักษา
2) การทําให้เด็กพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาลอย่างมีความสุขโดยไม่รู้สึกกลัว24
2.5 การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
เมื่อเด็กเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลต้องให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน
การพยาบาลเพื่อความสุขสบายทางกายและความปลอดภัย
(providephysical comfort and safety interventions)
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
(provide cognitiveinterventions)
การพยาบาลทั่วไป (provide general interventions)
การพยาบาลด้านจิตสังคมและอารมณ์
(provide psychosocial and emotion interventions)
2.1 การจัดสิ่งแวดล้อม (environment) ควรมีการจัดการดูแลดังนี้
หลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ที่อาจแสดงให้เห็นถึงจุดรักษาในหอผู้ป่วย
ห้องตรวจรักษาและทําหัตถการ เป็นห้องที่เด็กกลัวมากควรแยกออกจากเตียงหรือห้องนอนอย่างเด็ดขาดห้องนี้มักมีแต่การร้องให้ ดังนั้นควรอนุญาตไห้เด็กมาสังเกตห้องนี้ก่อนแล้วอธิบายให้เด็กเข้าใจและลดความกังวลลงได้
การสร้างบรรยากาศให้แจ่มใส สดชื่น ด้วยสีสันสะอาดสะอ้าน มีบริเวณให้เด็กนั่งรวมกันเล่นสนุกสนานได้ตามเวลาที่อนุญาต
การจัดให้มีของเล่นและห้องสําหรับเล่น การจัดการเล่นขณะที่เข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาลช่วยให้เด็กเกิดความรู้สึกสบายใจเป็นอิสระ
3 การประเมินผล
การให้การพยาบาลแก่เด็กเป็นระยะ ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบความคิด ความรู้สึกของเด็กเพื่อให้เด็กได้รับการตอบสนองความต้องการให้ได้มากที่สุด
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
พยาบาลควรมีการประเมินความคิดความรู้สึกของเด็กต่อการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ในกรณีที่เป็นเด็กโต สามารถใช้เทคนิคการให้เด็กระบายความในใจ
ซึ่งพบรายงานการนําไปใช้ในเด็กอายุ5 ปีขึ้นไปโดย
ประเมินแบบแผนการดําเนินชีวิตและกิจวัตรประจําวันของเด็ก
ประเมินความคิดความรู้สึกเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของเด็กโดยใช้คําถามปลายเปิด
หนูคิดว่าอะไรที่แย่ที่สุดเมื่อหนูต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
หนูคิดว่าอะไรที่ดีที่สุดเมื่อหนูต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
การเจ็บป่วยทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
กินได้น้อยลง
ถูกจำกัดกิจกรรม
วัยเดิน
เป็นวัยที่อิสระ อยากรู้อยากเห็น และยังไม่เคยแยกจากบิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดู
การเจ็บป่วยเฉียบพลัน เรื้อรังอาจทำให้ต้องพรากจากบิดามารดาซ้ำแล้วซ้ำอีก
วัยก่อนเรียน
เด็กวัยนี้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างมุ่งหวังที่จะประสบผลส าเร็จในงานบางอย่าง
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
เด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษ
วัยเรียน
เด็กวัยนี้จะเป็นวัยที่มุ่งมั่นต่อผลสำเร็จ
เด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรังทำให้หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา
ทำให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเองรู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยรุ่น
มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง มีความเป็นอิสระ
การเจ็บป่วยบ่อย จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสียความสามารถในการควบคุม (loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Critical care concept
Stress and coping
Pain management
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง(despair)
ความสิ้นหวังแสดงออกโดย อาการโศกเศร้า เสียใจอย่างลึกซึ้ง
แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง
มีพฤติกรรมที่ถดถอย (regression)
เด็กอาจจะดึงผม ข่วนหน้าตัวเอง และเอาศีรษะฟาดเตียง
ระยะนี้เด็กจะยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวดต่อต้านเพียงเล็กน้อยยอมกินอาหาร
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอดเวลาจะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น
เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วย
เด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง ไม่ยอมร่วมมือในการรักษา
ระยะปฏิเสธ(denial)
ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว
เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
เด็กแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่ามารดาจะมาหรือจะไป
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
หลักการพูดคุยกับเด็กเรื่อง “ความตาย”
ใช้การอธิบายในรูปแบบอื่นๆ นอกจากการพูดเพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจมากขึ้น
เปิดโอกาสให้เด็กได้ซักถามหรือเล่าถึงความรู้สึกของตนเอง
พูดคุยโดยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
สําหรับเด็กโตหรือเด็กวัยรุ่น ควรเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในการตัดสินใจบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับการรักษา
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความไว้วางใจกับผู้ปกครองและเด็ก
ช่วยให้เด็กเข้าใจว่า ไม่ว่าจะเป็นอย่างไร เด็กจะยังคงเป็นที่รัก และจะอยู่ในใจของคนที่เด็กรักเสมอ
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด :เจ็บตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ตำแหน่งที่ปวด
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ความรุนแรงของความปวด
ปัจจัยที่ท าให้ปวดมากขึ้น ลดลง
Faces scale
การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกปวด
นิยมใช้ในผู้ป่วยเด็กเล็กคนชราหรือคนที่ไม่สามารถสื่อสารได้ด้วยคำพูด
Numeric rating scales
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป ซักถามถ้าไม่ปวดเลย ให้ 0 ปวดมากที่สุดให้ 10 ขณะนี้ปวดเท่าใด
การแปลผล
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
0 = ไม่ปวด
7-10 = ปวดมาก
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
การส่งเสียง
ท่าทาง (ลำตัว)
ร้องไห้
การสัมผัสแผล
สีหน้า
ขา
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
4 = ไม่ปวด
11-13 = ปวดมาก
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability Scale)
การเคลื่อนไหว
ขา
ร้องไห้
การตอบสนองต่อการปลอบโยน
สีหน้า
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
การแปลผล
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
การหายใจ
แขน
ร้องไห้
ขา
ระดับการตื่น
สีหน้า
CRIES Pain Scale
Vital signs
การแสดงออก
O2 forSa O2 >95%
การนอนไม่หลับ
ร้องไห้
หลักการประเมินความปวด
ผู้ประเมินต้องมีความรู้และทักษะในการประเมินโดยยึดหลักดังต่อไปนี้
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้นๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
หลีกเลี่ยงค าถามน าอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง หรือค าถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้าเสียใจ
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด ถ้าเป็นเด็กเล็กอาจถามจากบิดา มารดา หรือสังเกตพฤติกรรมและผลกระทบที่เกิดจากความปวด
ครึ่งหลับครึ่งตื่น
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้ป่วยที่ยังไม่รู้สึกตัวดี