Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังตลอด จัดทำโดย นางสาวจริยา ทองมาก…
การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาและทารกหลังตลอด
จัดทำโดย
นางสาวจริยา ทองมาก เลขที่ 40 ห้อง B
การพัฒนาสัมพันธภาพในระยะหลังคลอด
แสดงความรักความผูกพันกับลูกตั้งแต่นาทีแรกหลังคลอดจนกระทั่งถึง 1 ชั่วโมงแรกหลังคลอด เป็นช่วงเวลาที่มารดามีความรู้สึกไวที่สุด 👩👧(Sensitive period)
กระบวนการพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
มี 9 ขั้นตอนดังนี้
ระยะก่อนตั้งครรภ์👩❤️👨
👉 ขั้นที่ 1 การวางแผนการตั้งครรภ์👨👩👦
ระยะตั้งครรภ์🤰🏼
👉 ขั้นที่ 2 การยืนยันการตั้งครรภ์
👉 ขั้นที่ 3 การยอมรับการตั้งครรภ์
👉 ขั้นที่ 4 การรับรู้การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
👉 ขั้นที่ 5 การยอมรับว่าทารกในครรภ์เป็นบุคคลหนึ่ง👶
ระยะคลอดและระยะหลังคลอด🤱🏻
👉 ขั้นที่ 6 การสนใจดูแลสุขภาพตนเองและทารกในครรภ์และแสวงหาการคลอดที่ปลอดภัย
👉 ขั้นที่ 7 การมองดูทารก
👉 ขั้นที่ 8 การสัมผัสทารก
👉 ขั้นที่ 9 การดูแลทารกและให้ทารกดูดนม
พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดาและทารก
🖐การสัมผัส (Touch,Tactile sense)
เป็นความสนใจของมารดาในการสัมผัสบุตร การใช้นิ้วสัมผัสและการนวด
ทรากจะจับมือและดึงผมมารดา
👁 การประสานสายตา (Eye to eye contact)
เริ่มพัฒนาการด้านความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ
และความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ระยะที่ทารกสามารถมองเห็นมารดาชัดเจน คือ 8-12 นิ้ว
🔊การใช้เสียง (Voice)
การตอบสนองเริ่มทันทีที่ทารกเกิด
มารดารอฟังเสียงทารกเพื่อยืนยันภาวะสุขภาพทารก
ทารกจะตอบสนองต่อโทนเสียงสูง
🗣 การเคลื่อนไหวเป็นจังหวะ
ตามเสียงพูด(Entrainment)
ทารกเคลื่อนไหวจังหวะสัมพันธ์ตามเสียงพูดสูงต่ำของมารดา
🤱🏻 จังหวะชีวภาพ (Biorhythmcity)
ทารกร้องไห้ มารดาอุ้มทารกไว้แนบอก
ทารกรับรู้เสียงการเต้นหัวใจมารดาซึ่งคุ้มเคยตั้งแต่อยู่ในครรภ์
👃การรับกลิ่น (Odor)
มารดาจำกลิ่นทารกได้ตั้งแต่แรกเกิด
ทารกสามารถแยกกลิ่นและหันเข้าหากลิ่นมารดา
ได้ภายใน 6-10 วันหลังคลอด
🤱🏻การให้ความอบอุ่น
(Body warmth หรือ Heat)
หลังคลอด เช็ดตัวให้แห้ง ห่อตัวทารกและให้มารดาโอบกอด
ทารกไม่เกิดการสูญเสียความร้อน และเกิดผ่อนคลาย
🍼การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม (T and B lymphocyte)
ได้ภูมิคุ้มกัน ได้แก่ T lymphocyte,B lymphocyte และ Immunoglobulin A
🌬การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora)
มีการถ่ายทอดเชื้อโรคในระบบหายใจมารดาสู่ทารก ป้องกันทารกติดเชื้อจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
การประเมินสัมพันธภาพหว่างมารดากับทารก
1.ความสนใจดูแลตนเองและทารก
2.พฤติกรรมปฏิสัมพันธ์
3.การปฏิบัติบทบาทการเป็นมารดา
4.การตอบสนองความต้องการของทารก
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์ในการส่งเสริมสัมพันธ์ภาพระหว่างมารดากับทารก
ระยะตั้งครรภ์🤰🏼
🤰🏼 ยอมรับการตั้งครรภ์
🤰 ครอบครัวคอยให้กำลังใจ
🤰 ปรับบทบาทการเป็นบิดา มารดา
🤰🏼 ยอมรับความเป็นบุคคลของทารกในครรภ์
🤰🏻 กระตุ้นพัฒนาการทารกในครรภ์
ระยะคลอด
🤱🏻สร้างบรรยากาศให้ไว้วางใจ
🤱🏻ลดความวิตกกังวล
🤱🏻ให้ข้อมูลเป็นสื่อกลางระหว่างผู้คลอดกับครอบครัว
🤱🏻ส่งเสริมการคลอด ผ่านไปอย่างปลอดภัย
ระยะหลังคลอด
👶 ส่งเสริมให้มารดาสัมผัส โอบกอด ในระยะ sensitive period
👶 Rooming in เป็นการให้มารดาอยู่กับทารกเร็วที่สุด ใน 24 ชม. แรกหลังคลอด
👶 ให้คำแนะนำการดูแลบุตร
👶 ตอบสนองความต้องการของมารดา
👶 กระตุ้นมารดาให้มีปฏิสัมพันธ์กับทารก
👶 เป็นตัวแบบในการสร้างสัมพนธภาพกับทารก
👶 ให้มารดา ทารก บิดา ได้อยู่ด้วยกัน
พฤติกรรมมารดากับทารกที่
แสดงถึงการขาดสัมพันธภาพ
1.ไม่สนใจมองบุตร
2.ไม่ตอบสนองต่อบุตร
3.พูดถึงบุตรในทางลบ
4.แสดงท่าที คำพูดไม่พอใจขณะดูแลบุตร
5.ขาดความสนใจซักถามพฤติกรรมและการเลี้ยงบุตร
ความหมาย
Bonding (ความผูกพัน)👩❤️👨
👉 เป็นความผูกพันทางอารมณ์ที่พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดูมีต่อทารกฝ่ายเดียว
Attachment (สัมพันธภาพ)👨👩👧
👉 เป็นความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างทารกกับพ่อแม่หรือผู้เลี้ยงดู